SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ชื่อผลงาน เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่ – งัวะแซ” กระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
ชื่อผู้เสนอผลงาน นางพัชรินทร์ สุทธหลวง
โรงเรียนมัธยมป่ากลาง อาเภอปัว จังหวัดน่าน
สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 37 ( แพร่ – น่าน )
1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ
ข้าว หากมองในแง่มุมของระบบเศรษฐกิจภาพรวม ข้าวคือพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย แต่สาหรับ
ชุมชนชนบท ข้าว คือสิ่งสาคัญในการดารงชีพที่มิอาจแยกออกจากวิถีชีวิต หากยุ้งฉางของบ้านใดมีข้าวเต็ม
ในแต่ละฤดูกาลเก็บเกี่ยว นั่นเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าจะไม่เกิดความอดอยากขึ้นกับครอบครัวนั้น การผลิต
ข้าวจึงเป็นการผลิตเพื่อพอกิน นอกจากนั้น ข้าว ยังมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน วัฒนธรรม
ที่เกี่ยวกับข้าว ตั้งแต่กระบวนการผลิตจนถึงกระบวนการเก็บเกี่ยว ล้วนแสดงให้เห็นถึงรากฐานของชีวิต
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของชุมชน
ชุมชนตาบลป่ากลาง ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน มีประชากรเป็นกลุ่มชนที่หลากหลาย ทั้งชาติพันธุ์
และวัฒนธรรม หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์นั้น คือ ชนเผ่าลั๊วะ ซึ่งอาศัยในพื้นที่บ้านจูน หมู่ที่ 4 และบ้านตาหลวง
หมู่ที่ 5 ประชากรส่วนใหญ่ยังคงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ในแต่ละปีมีการปลูก “ข้าวไร่”
ซึ่งเป็นข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ อันประกอบด้วยภูเขาที่มีระดับความสูงลดหลั่นกันไป วิธีการ
ในการปลูกตั้งแต่การคัดเลือกสายพันธุ์จนกระทั่งการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ล้วนเป็นสิ่งที่เกิด
จากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่มิได้ศึกษาเรียนรู้หลักการทางวิทยาศาสตร์จากโรงเรียนใด หากแต่เกิดจากศึกษา
ค้นคว้าทดลองปฏิบัติแล้วบังเกิดผลเป็นที่น่าพอใจซึ่งความรู้ที่ได้เป็นความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติจริงใน
ชีวิตประจาวัน ดังที่เรียกกันว่า “ภูมิปัญญาท้องถิ่น” หรือ “ภูมิปัญญาพื้นบ้าน” นั่นเอง
การนาภูมิปัญญาพื้นบ้านที่เกี่ยวกับกระบวนการปลูกข้าวไร่ ซึ่งมีปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนมาสอด
ประสานกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ โดยอธิบายภูมิปัญญาให้เป็นเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ แล้วนามาสร้าง
ชุดการทดลองที่ประยุกต์จากความรู้ที่ได้รับ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้ช่วงชั้น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 เรื่องสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ทาให้
ผู้เรียนมองเห็นความสาคัญของสิ่งใกล้ตัว สนุกกับการเรียนรู้ เกิดความภาคภูมิใจที่สามารถนาความรู้ไป
อธิบายปรากฏการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจาวันได้ และส่งผลให้ผู้เรียนสร้างและเกิดองค์ความรู้ได้
ด้วยตนเอง เกิดความรัก ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเองและร่วมสืบสานภูมิปัญญาพื้นบ้านให้คงอยู่
ตลอดไป
2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน
1. เพื่อสร้างและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่ – งัวะแซ” โดยใช้กระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
3. เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งใกล้ตัว สนุกกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เกิดความรัก
และความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง
3. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ
1. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่ – งัวะแซ” ที่สร้างและพัฒนาขึ้นโดยใช้กระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาระ
วิทยาศาสตร์เพิ่มเติมสาหรับผู้เรียนในช่วงชั้นที่ 3
2. ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยการสืบค้น รวบรวม ลงมือปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปข้อมูล
โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ในชุมชนตาบลป่ากลาง
อาเภอปัว จังหวัดน่าน
3. ผู้เรียนมองเห็นความสาคัญของสิ่งใกล้ตัว สนุกกับการเรียนรู้ เกิดความภาคภูมิใจที่สามารถนาความรู้
ไปอธิบายปรากฏการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจาวันได้ และส่งผลให้ผู้เรียนสร้างและเกิด
องค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง เกิดความรัก ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเองและร่วมสืบสาน
ภูมิปัญญาพื้นบ้านให้คงอยู่ตลอดไป

More Related Content

More from Art Nan

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์Art Nan
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Art Nan
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)Art Nan
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1Art Nan
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)Art Nan
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยArt Nan
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6Art Nan
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 

More from Art Nan (20)

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02

  • 1. ชื่อผลงาน เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่ – งัวะแซ” กระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญา ท้องถิ่น ชื่อผู้เสนอผลงาน นางพัชรินทร์ สุทธหลวง โรงเรียนมัธยมป่ากลาง อาเภอปัว จังหวัดน่าน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 37 ( แพร่ – น่าน ) 1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ ข้าว หากมองในแง่มุมของระบบเศรษฐกิจภาพรวม ข้าวคือพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย แต่สาหรับ ชุมชนชนบท ข้าว คือสิ่งสาคัญในการดารงชีพที่มิอาจแยกออกจากวิถีชีวิต หากยุ้งฉางของบ้านใดมีข้าวเต็ม ในแต่ละฤดูกาลเก็บเกี่ยว นั่นเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าจะไม่เกิดความอดอยากขึ้นกับครอบครัวนั้น การผลิต ข้าวจึงเป็นการผลิตเพื่อพอกิน นอกจากนั้น ข้าว ยังมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน วัฒนธรรม ที่เกี่ยวกับข้าว ตั้งแต่กระบวนการผลิตจนถึงกระบวนการเก็บเกี่ยว ล้วนแสดงให้เห็นถึงรากฐานของชีวิต ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของชุมชน ชุมชนตาบลป่ากลาง ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน มีประชากรเป็นกลุ่มชนที่หลากหลาย ทั้งชาติพันธุ์ และวัฒนธรรม หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์นั้น คือ ชนเผ่าลั๊วะ ซึ่งอาศัยในพื้นที่บ้านจูน หมู่ที่ 4 และบ้านตาหลวง หมู่ที่ 5 ประชากรส่วนใหญ่ยังคงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ในแต่ละปีมีการปลูก “ข้าวไร่” ซึ่งเป็นข้าวที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ อันประกอบด้วยภูเขาที่มีระดับความสูงลดหลั่นกันไป วิธีการ ในการปลูกตั้งแต่การคัดเลือกสายพันธุ์จนกระทั่งการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ล้วนเป็นสิ่งที่เกิด จากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่มิได้ศึกษาเรียนรู้หลักการทางวิทยาศาสตร์จากโรงเรียนใด หากแต่เกิดจากศึกษา ค้นคว้าทดลองปฏิบัติแล้วบังเกิดผลเป็นที่น่าพอใจซึ่งความรู้ที่ได้เป็นความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติจริงใน ชีวิตประจาวัน ดังที่เรียกกันว่า “ภูมิปัญญาท้องถิ่น” หรือ “ภูมิปัญญาพื้นบ้าน” นั่นเอง การนาภูมิปัญญาพื้นบ้านที่เกี่ยวกับกระบวนการปลูกข้าวไร่ ซึ่งมีปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนมาสอด ประสานกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ โดยอธิบายภูมิปัญญาให้เป็นเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ แล้วนามาสร้าง ชุดการทดลองที่ประยุกต์จากความรู้ที่ได้รับ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้ช่วงชั้น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 เรื่องสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ทาให้ ผู้เรียนมองเห็นความสาคัญของสิ่งใกล้ตัว สนุกกับการเรียนรู้ เกิดความภาคภูมิใจที่สามารถนาความรู้ไป อธิบายปรากฏการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจาวันได้ และส่งผลให้ผู้เรียนสร้างและเกิดองค์ความรู้ได้ ด้วยตนเอง เกิดความรัก ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเองและร่วมสืบสานภูมิปัญญาพื้นบ้านให้คงอยู่ ตลอดไป
  • 2. 2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน 1. เพื่อสร้างและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่ – งัวะแซ” โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งใกล้ตัว สนุกกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เกิดความรัก และความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง 3. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ 1. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่ – งัวะแซ” ที่สร้างและพัฒนาขึ้นโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาระ วิทยาศาสตร์เพิ่มเติมสาหรับผู้เรียนในช่วงชั้นที่ 3 2. ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยการสืบค้น รวบรวม ลงมือปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปข้อมูล โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ในชุมชนตาบลป่ากลาง อาเภอปัว จังหวัดน่าน 3. ผู้เรียนมองเห็นความสาคัญของสิ่งใกล้ตัว สนุกกับการเรียนรู้ เกิดความภาคภูมิใจที่สามารถนาความรู้ ไปอธิบายปรากฏการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจาวันได้ และส่งผลให้ผู้เรียนสร้างและเกิด องค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง เกิดความรัก ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเองและร่วมสืบสาน ภูมิปัญญาพื้นบ้านให้คงอยู่ตลอดไป