SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
บทเรียนสาเร็จรู ป
      เรื่อง เอกภพ ดาวฤกษ์ และระบบสุ ริยะ
                เล่ มที่ 9 “ดวงอาทิตย์ ”
         รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
                ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5




                           โดย
                นางวิรัลฐิตา บุณยนันท์ สิริ
                      ครูชานาญการ

โรงเรียนหนองแวงวิทยาคม อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์
    สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
                 ้ ่
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                        ้
                กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ

           บทเรี ยนสาเร็ จรู ป รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ว32101 เรื่ อง เอกภพ ดาวฤกษ์และ
ระบบสุ ริยะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการจัดการเรี ยนรู ้ ซึ่ งผูเ้ รี ยนสามารถศึกษาหา
ความรู ้ดวยตนเอง ทั้งยังสามารถประเมินผลการเรี ยนด้วยตนเองได้ใน ชัวระยะหนึ่ง แต่ท้ งนี้ผเู ้ รี ยน
         ้                                                             ่                      ั
             ่                                      ่
จะต้องตั้งอยูบนพื้นฐานของความซื่ อสัตย์ จึงจะรู ้วามีความสามารถในด้านสติปัญญา ในการแก้ไข
                                            ่
ปั ญหามากน้อยเพียงใด สาระที่ปรากฏอยูในบทเรี ยนสาเร็ จรู ปนั้น จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจเนื้อหาเป็ น
อย่างดี ก่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวตประจาวันได้    ิ
บทเรี ย           นสาเร็ จรู ป เรื่ อง เอกภพ ดาวฤกษ์และระบบสุ ริยะ มีจานวน ทั้งหมด 9 เล่ม ได้แก่

                 เล่มที่ 1 กาเนิดเอกภพ
                 เล่มที่ 2 กาแล็กซี
 เล่มที่ 3                 วิวฒนาการของดาวฤกษ์
                               ั
                 เล่มที่ 4 ความสว่างและอันดับความสว่างของดาวฤกษ์
                 เล่มที่ 5 สี และอุณหภูมิของดาวฤกษ์
         เล่มที่ 6         ระยะห่างระหว่างดาวฤกษ์
  เล่มที่ 7 เนบิวลา แหล่งกาเนิดดาวฤกษ์
 เล่มที่                 8 กาเนิดระบบสุ ริยะ
 เล่มที่                 9 ดวงอาทิตย์

 บทเรี ยนสาเร็ จ           รู ปเล่มนี้ เป็ นเล่มที่ 9 ดวงอาทิตย์ ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะเป็ นประโยชน์
                                                                   ้ั                  ่
ต่อการเรี ยนรู ้เนื้อหาสาระวิทยาศาสตร์ ส่ วนที่ไม่ใช่การทดลองในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ตลอดจนผูที่สนใจสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ศึกษานอกเวลา
                                                    ้
                                                            ั
เรี ยนเพิ่มเติมเป็ นการทบทวนเนื้อหา และสามารถใช้กบนักเรี ยนที่ขาดเรี ยนบ่อยทาให้เรี ยนไม่ทน         ั
เพื่อนได้มากพอสมควร



                                                        นางวิรัลฐิตา บุณยนันท์สิริ
                                        ครู ชานาญการ
                                                        โรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม
คาแนะนาสาหรับครู




        1. ใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ปชุดนี้ประกอบการเรี ยนรู ้ เรื่ อง ดวงอาทิตย์
        2. ศึกษาบทเรี ยนสาเร็จรู ปตั้งแต่กรอบแรกจนถึงกรอบสุ ดท้าย ทั้งเนื้อหาและ
กิจกรรม ให้ เข้าใจก่อน
        3. ศึกษาว่ากิจกรรมในกรอบใดที่ครู ตองเป็ นผูให้คาแนะนาช่วยเหลือ หรื อให้
                                             ้       ้
คาปรึ กษาบ้าง
        4. ชี้แจงให้นกเรี ยนอ่านคาแนะนาในการใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ป
                      ั
และปฏิบติตามทุกขั้นตอน ทุกกรอบ ทั้งเนื้อหา กิจกรรม คาถาม คาตอบหรื อ
         ั
แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน และหลังเรี ยน
คาแนะนาสาหรั บนักเรี ยน


                                           ่
           บทเรี ยนที่นกเรี ยนกาลังศึกษาอยูน้ ีเรี ยกว่า บทเรี ยนสาเร็จรู ป
                        ั
ไม่ใช่แบบทดสอบ นักเรี ยนจะสามารถเรี ยนรู ้ในเรื่ อง “ดวงอาทิตย์” ได้ดวยตนเอง้
ขอให้นกเรี ยนทาตามคาแนะนาต่อไปนี้
         ั
 1. นักเรี ยนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบหรื อแบบฝึ กหัด
 2. ก่อนที่นกเรี ยนจะศึกษา ควรทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนเป็ นอันดับแรก
              ั
 3. ตั้งใจทาและศึกษาเนื้อเรื่ องไปตามลาดับทีละกรอบอย่างรอบคอบ
ไม่เปิ ดข้ามเพราะจะทาให้สับสน
     4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้า ๆ ให้เข้าใจ คิดให้ดี แล้วจึงตอบคาถามลงใน
กระดาษเปล่า อย่าขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในบทเรี ยนสาเร็จรู ปนี้
     5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง จึงเปิ ดดูคาตอบในกรอบต่อไป
                   ่
เพื่อตรวจสอบดูวาถูกหรื อผิด ถ้าตอบถูกจงทากรอบต่อไป ถ้าตอบผิด ให้ยอนกลับไป     ้
อ่านทบทวน ทาความเข้าใจกับเนื้อเรื่ องเดิมอีกครั้ง เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงแก้คาตอบที่ผดให้
                                                                                  ิ
ถูกต้อง
     6. ศึกษาเนื้อเรื่ องไปเรื่ อย ๆ   “เหนื่อยก็พก” สักครู่ แล้วค่อยศึกษาต่อไป
                                                       ั
     7. เมื่อศึกษาจบทุกกรอบแล้ว ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนด้วย
                                        ั
เสร็จแล้วตรวจคาตอบในเฉลยหน้าต่อไป เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง
มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้ วด
                                          ั

สาระที่ 7 ดาราศาสตร์ และอวกาศ
มาตรฐานการเรียนรู้
ว7.1                เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะและกาเเล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ
                             ั
สุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์
                               ิ
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วด
       ั
            ว7.1 ม 4-6/1 สื บค้นและอธิบายการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ
                                                        ั
กาแล็กซี และเอกภพ




                          จุดประสงค์การเรี ยนรู้


  สื บค้นข้อมูล อภิปรายผล และสรุ ปเพื่ออธิบายอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกได้
แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง
1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ
2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่ องหมาย   × หน้าข้อที่ถูกต้อง
1. พลังงานความร้อนของดวงอาทิตย์เป็ นพลังงานชนิดใด
 ก.           นิวเคลียร์
 ข. นิวเคลียร์ฟิวชัน
 ค. นิวเคลียร์ฟิสชัน
 ง. ทุกชนิด
2. โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรู ปของอะไร
 ก. อนุภาคและแสง
 ข. แสงและความร้อน
 ค. ความร้อนและพายุแม่เหล็ก
 ง. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาค
3. ปรากฏการณ์ในข้อใดเกิดจากลมสุ ริยะ
 ก. สุ ริยปราคา
          ุ
 ข. พายุแม่เหล็ก
 ค. แสงเหนือ           – แสงใต้
 ง. ข้อ ก และข้อ ค
4. ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแก๊สในข้อใดมากที่สุด
 ก. ไฮโดรเจน
 ข. คาร์บอน
 ค. ยูเรเนียม
 ง. ฮีเลียม
5. การระเบิดของกลุ่มแก๊สที่จุดบนดวงอาทิตย์มีผลต่อระบบโทรคมนาคมของโลก สิ่ งนั้นคืออะไร
 ก. รังสี แกมมา
 ข. สนามแม่เหล็ก
 ค. อนุภาคโปรตอน
 ง. รังสี อลตราไวโอเลต
            ั
6. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
    1. ลมสุ ริยะ 2. สนามแม่เหล็ก 3. แสงจากดวงอาทิตย์
    4. รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
              ั
 ก.           1 และ 2
 ข.           2 และ 3
 ค.           3 และ 4
 ง.           4 และ 1
7. การลุกจ้าเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศใดของดวงอาทิตย์
 ก. โพโตสเฟี ยร์
 ข. โครโมสเฟี ยร์
 ค. โคโรนา
 ง. ทุกชั้น
8. จุดดับบนดวงอาทิตย์จะเกิดขึ้นในทุก ๆ กี่ปี
 ก.           12
 ข.           11
 ค.           10
 ง.           9
9. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ออโรรา
 ก. เกิดในชั้นไอโอโนสเฟี ยร์
 ข. เรี ยกว่าแสงเหนือ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกเหนือ
 ค. เรี ยกว่าแสงใต้ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกใต้
 ง. เป็ นปรากฏการณ์ทางเคมีของประจุไฟฟ้ า
10. แสงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลกใช้เวลาประมาณกี่นาที
 ก.           8 นาที
 ข.           7 นาที
 ค.           6 นาที
 ง.           5 นาที
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน




1.   ข 6. ก
2.   ง 7. ค
3.   ง 8. ข
4.   ก 9. ง
5.   ข        10. ก




                                  ความพยายาม
                                ่
                             อยูที่ไหนความสาเร็จ
                                       ่ ั่
                                    อยูที่นน
ดวงอาทิตย์
         ดวงอาทิตย์ เป็ นดาวฤกษ์ที่ให้พลังงานและแสงสว่างมหาศาลและไม่มีวนหมดสิ้ น
                                                                               ั
นับว่าดวงอาทิตย์เป็ นบ่อเกิดพลังงานที่ยงใหญ่ท่ีสุดของระบบสุ ริยะ สิ่ งมีชีวตบนโลก
                                       ิ่                                  ิ
ของเราทั้งพืชและสัตว์ตองอาศัยพลังงานนี้ พืชต้องการพลังงานแสงเพื่อการสังเคราะห์
                        ้
แสง สัตว์ตองการความร้อน แสงสว่าง และพลังงานจากอาหารเพื่อการดารงชีวต
            ้                                                                ิ
และต้องการพลังงานอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกสบายในการดารงชีวต ดังนั้น   ิ
พลังงานจากดวงอาทิตย์จึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวตบนโลกิ
        ซึ่งนักเรี ยนจะสามารถศึกษา ค้นคว้า สื บค้นได้จากบทเรี ยนสาเร็จรู ปเล่มนี้




    (ที่มาภาพ http://www.astroschool.in.th/public/teacher/encyclodetail_ans_inc.php?id=46 )



                                                                    เปิ ดหน้ าต่ อไปได้ เลยครับ
กรอบที่ 1
                   ข้ อมูลเบืองต้ นเกียวกับดวงอาทิตย์
                             ้        ่

ดวงอาทิตย์ (Sun)

                                      ่
          ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ท่ีอยูตรงใจกลางของระบบสุ ริยะ ดวงอาทิตย์ให้แสงสว่าง
                                                    ่
ความร้อน และพลังงานรู ปแบบอื่นแก่โลก ดวงอาทิตย์อยูในสถานะที่เรี ยกว่า พลาสมา
พลาสมาคือ สถานะที่ 4 ของสสาร คือ แก๊สที่อิเล็กตรอนไม่ได้ยดติดกับนิวเคลียส ดังนั้นพลาสมา
                                                         ึ
จึงมีความเป็ นกลางทางประจุไฟฟ้ า รอบ ๆ ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยดาวเคราะห์ต่าง ๆ กับดาวบริ วาร
ของมัน ดาวเคราะห์นอยอีกนับแสน และดาวหางอีกเป็ นล้านล้าน ทั้งหมดนี้รวมเรี ยกว่า ระบบสุ ริยะ
                    ้




                                      รู ปภาพ 1 ดวงอาทิตย์
                    (ที่มา http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm)

          ดวงอาทิตย์อยูห่างจากโลกประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรื อ 1 AU (Astronomical Unit)
                       ่
มีมวลประมาณ 1.9x1030 กิโลกรัม มีรัศมี (วัดบริ เวณเส้นศูนย์สูตร) ประมาณ 695,500 กิโลเมตร
ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจน 75% ต่อมวล ฮีเลียม 25% ต่อมวล และธาตุหนักอื่น ๆ อีก
น้อยกว่า 1% ต่อมวล
ผิวของดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นได้มีอุณหภูมิประมาณ 5,500 องศาเซลเซียส นักดาราศาสตร์
วัดอุณหภูมิผวดาวฤกษ์ในหน่วยของเคลวิน ซึ่ง 1 เคลวิน เท่ากับ 1 องศาเซลเซี ยส เท่ากับ 1.8
            ิ
องศา ฟาเรนไฮต์ แต่จุดเริ่ มต้นของเคลวินและองศาเซลเซี ยสแตกต่างกัน โดยเคลวินเริ่ มที่ 0 เคลวิน
แต่องศาเซลเซี ยสเริ่ มที่ -273.15 องศาเซลเซียส (เท่ากับ -459.67 องศาฟาเรนไฮต์) ดังนั้น อุณหภูมิ
ที่ผวดวงอาทิตย์จะมีค่าประมาณ 5,800 เคลวิน และอุณหภูมิที่แกนกลางของดวงอาทิตย์สูงถึงประมาณ
    ิ
15 ล้านเคลวิน

                                  ข้ อมูลจาเพาะของดวงอาทิตย์

รัศมี                   695,990 กิโลเมตร        432,470 ไมล์             109 เท่าของรัศมีโลก
                                                                         333,000 เท่าของมวล
มวล                     1.989 1030 กิโลกรัม     4.376 1030 ปอนด์
                                                                         ของโลก
พลังงานทีดวงอาทิตย์
           ่
                        3.846 1033 erg/s
ปล่อยออกมาต่ อวินาที
อุณหภูมิทผวของดวง
         ี่ ิ
                        5770 เคลวิน             9,930 องศาฟาเรนไฮต์
อาทิตย์
                        2.07 x 10-7 กรัมต่อ     1.6 x 10-4 เท่าของความ
ความหนาแน่ นทีผว
              ่ ิ
                        ลูกบาศก์เซนติเมตร       หนาแน่นของอากาศ
                                                                         มวล อื่น ๆ (คาร์บอน,
องค์ ประกอบทีผว
             ่ ิ        มวล ไฮโดรเจน 70%        มวล ฮีเลียม 28%          ไนโตรเจน,ออกซิเจน)
                                                                         2%
                                                28,000,000 องศาฟา
อุณหภูมิทใจกลาง
         ี่             15,600,000 เคลวิน
                                                เรนไฮต์
ความหนาแน่ น            150 กรัมต่อลูกบาศก์     8 เท่าของความ
ทีใจกลาง
  ่                     เซนติเมตร               หนาแน่นของทอง
                                                                         มวลอื่น ๆ (คาร์บอน,
องค์ ประกอบทีใจกลาง มวล ไฮโดรเจน 35%
             ่                                  มวล ฮีเลียม 63%          ไนโตรเจน,ออกซิเจน,
                                                                         และอื่นๆ) 2%
อายุ                    4.57 x 109 ปี
พลังงานของดวงอาทิตย์ มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชัน ซึ่ งเกิดที่แกนกลางของดวงอาทิตย์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชันคือการรวมกันของอะตอมของธาตุเบาได้อะตอมใหม่ที่มี มวลน้อยกว่า
มวลรวมของอะตอมเริ่ มต้น และมวลที่หายไปนั้นถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงาน
           ดวงอาทิตย์มีความเป็ นแม่เหล็ก นักวิทยาศาสตร์ อธิ บายความเป็ นแม่เหล็กของสารใน
                                                                               ่
รู ปแบบของสนามแม่เหล็ก ซึ่ งบริ เวณที่สนามแม่เหล็กมีผลจะรวมถึงอวกาศที่อยูรอบ ๆ วัตถุแม่เหล็ก
นั้นด้วย สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์จะเข้มมากที่บริ เวณเล็ก ๆ บนผิวที่เราเรี ยบกว่าจุดมืด
(sunspots) บนดวงอาทิตย์ บางครั้งจะมีการลุกจ้า (flares) และการปลดปล่อยก้อนมวลจากชั้นโคโรนา
(coronal mass ejection) จากจุดมืดนี้ดวย ้
           การลุกจ้า (flares) เป็ นเหตุการณ์ที่รุนแรงมากเหตุการณ์หนึ่งในระบบสุ ริยะ
และการปลดปล่อยก้อนมวลจากชั้นโคโรนา (coronal mass ejection) ซึ่ งมีความรุ นแรงมากกว่า
การลุกจ้า การปลดปล่อยก้อนมวลครั้งหนึ่งอาจปล่อยมวลสารออกมามากถึง 20,000 ล้านตันสู่ อวกาศ
           ดวงอาทิตย์เกิดมาเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปี ที่แล้ว และยังมีเชื้อเพลิงมากเพียงพอ
ที่จะอยูต่อไปอีก 5,000 ล้านปี หลังจากนั้นมันจะกลายเป็ นดาวยักษ์แดง (red giant) และในที่สุด
         ่
เมื่อชั้นบรรยากาศของมันหมดไป แกนกลางก็จะยุบตัวกลายเป็ นดาวแคระขาว (white dwarf)




                                              ไปดูเฉลยคาถามท้ าย
                                              กรอบที่ 1 ได้ เลยครับ



คาถามท้ายกรอบที่ 1 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน
                                  ั
หน้าข้อความที่ผด        ิ
....................1) พลังงานของดวงอาทิตย์ มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชัน
....................2) การลุกจ้า เป็ นการปลดปล่อยก้อนมวลพลังงานจากชั้นโคโรนา
เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 1 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x
                                      ั
ลงในหน้าข้อความที่ผด       ิ
......... .........1) พลังงานของดวงอาทิตย์ มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชัน
......... .........2) การลุกจ้า เป็ นการปลดปล่อยก้อนมวลพลังงานจากชั้นโคโรนา

                   ตอบถูก เก่ งจังเลยค่ ะ                 ตอบผิด ไม่ เป็ นไร
                   นักเรียนปรบมือให้                      ทบทวนใหม่ แล้ว
                   ตัวเองด้ วย                            พยายามอีกครั้งค่ ะ



                                            กรอบที่ 2
                               โครงสร้ างของดวงอาทิตย์
             ดวงอาทิตย์เป็ นกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่ เนื่องจากมวลของแก๊สมีขนาดมหาศาล ทาให้มี
  ความดันที่แกนกลางสู ง มาก ทาให้สามารถเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ แบบรวมตัว (นิวเคลียร์ฟิวชัน)
  ได้อย่างต่อเนื่อง พลังงานที่ได้ทาให้บริ เวณแกนกลางของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิกว่า 15 ล้านเคลวิน
  พลังงานความร้อนที่ได้ทาให้เกิดกระบวนการต่อเนื่องต่าง ๆ มากมาย โดยส่ วนใหญ่จะถูกดูดกลืน
  โดยแก๊สในดวงอาทิตย์เอง ส่ งผลให้บริ เวณผิวนอกของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิเหลือเพียงประมาณ
  6,000 เคลวิน และทาให้แสงแดด มีการกระจายความเข้มใกล้เคียงกับการแผ่รังสี ของวัตถุดาที่
  6,000 เคลวินนันเอง
                   ่
  โครงสร้ างของดวงอาทิตย์
             1. โครงสร้ างภายในดวงอาทิตย์ (solar interior) ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
                  1.1 แกนกลาง (Core) แกนกลาง ของดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งกาเนิดพลังงาน
  นิวเคลียร์ ฟิ วชัน มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 27 เท่าของโลก มีอุณหภูมิสูงกว่า 15 ล้านองศาเซลเซียส
                  1.2 เขตแผ่รังสี (Radiative zone) เป็ นส่ วนที่รับและดูดกลืนรังสี อนเนื่องมาจากพลังงาน
                                                                                    ั
  ที่ผลิตได้ และความร้อนจากแกนกลางถ่ายทอดสู่ ส่วนนอกโดยการแผ่รังสี แบบคลื่น
                  1.3 เขตการพารังสี (Convection zone) เป็ นชั้นที่อนุภาคซึ่ งได้รับพลังงานความร้อนจาก
  ชั้นแผ่รังสี มีการเคลื่อนที่ ถ่ายเทพลังงานให้กนและกัน ทาให้มีการพาพลังงานออกมาสู่ ผวชั้นนอกได้
                                                ั                                            ิ
2. ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ แบ่งออกได้เป็ น 3 ชั้น (layers) คือ
                  2.1 โฟโตสเฟี ยร์ (photosphere) เป็ นพื้นผิวของดวงอาทิตย์ซ่ ึ งประกอบด้วยก๊าซร้อน
ซึ่ งเคลื่อนที่ตลอดเวลา จะบริ เวณที่เป็ นเปลือกและมีลกษณะส่ องสว่าง
                                                          ั
                  2.2 โครโมสเฟี ยร์ (chromosphere) เป็ นบรรยากาศบาง ๆ สู งขึ้นจากชั้นโฟโตสเฟี ยร์
                ่
มีอุณหภูมิอยูในช่วง 6,000 - 20,000 องศาเซลเซี ยส เป็ นชั้นที่เกิดปรากฏการณ์รุนแรงบนดวงอาทิตย์
เช่น พวยก๊าซ เส้นสายยาวของลาก๊าซ หรื อ การระเบิดลุกจ้าบนดวงอาทิตย์
                  2.3 โคโรนา (corona) เป็ นบรรยากาศของดวงอาทิตย์แผ่กระจายกว้างไกลจาก
ดวงอาทิตย์ มีความสว่างน้อย จะต้องรอให้เกิดสุ ริยปราคาเต็มดวงจึงสังเกตเห็นโคโรนา โดยที่
                                                      ุ
ระหว่างชั้นโครโมสเฟี ยร์ และชั้นโคโรนาจะมีช้ นบาง ๆ ที่เรี ยกว่า transition regions อยู่
                                                  ั
 ด้ วย




                                  รู ปภาพ 2 โครงสร้างของดวงอาทิตย์
                    (ที่มา http://www.thaispaceweather.com/IHY/Sun/Sun.htm )


                                         ไปดูเฉลยคาถามท้ าย
                                         กรอบที่ 2 ได้ เลยครับ

คาถามท้ายกรอบที่ 2 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน
                                 ั
หน้าข้อความที่ผด        ิ
....................1) เขตแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งกาเนิดพลังงานนิวเคลียร์ ฟิวชัน
....................2) พื้นผิวของดวงอาทิตย์ประกอบด้วยก๊าซร้อนมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา
เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 2 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x
                                     ั
ลงในหน้าข้อความที่ผด       ิ
......... X .........1) เขตแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งกาเนิดพลังงานนิวเคลียร์ ฟิวชัน
......... ........2) พื้นผิวของดวงอาทิตย์ประกอบด้วยก๊าซร้อนมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา

                   ตอบถูก เก่ งมากค่ ะ                   ตอบผิด ไม่ เป็ นไร
                   นักเรียนปรบมือให้                     ทบทวนใหม่ แล้ว
                   ตัวเองด้ วย                           พยายามอีกครั้งค่ ะ



                                            กรอบที่ 3
                                   จุดดับบนดวงอาทิตย์

  จุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspot)

  ลักษณะพื้นผิวของ ดวงอาทิตย์น้ น      ั           จะเห็นภาพปรากฏที่เรี ยกว่า จุดดาบนดวงอาทิตย์หรื อ
  จุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็ นบริ เวณสี คล้ าบนตัวดวงอาทิตย์หรื อบนชั้นโฟโตสเฟี ยร์
  โดยมีส่วนกลางดาคล้ ากว่าเรี ยกว่า เงามืด (Umbra) ส่ วนรอบๆมีสีจางกว่าเรี ยกว่า เงาสลัว (Penumbra)
  บริ เวณจุดบนดวงอาทิตย์น้ ี ไม่ได้มืดหรื อดับไป ดังที่บางคนเข้าใจ แท้จริ งแล้วจุดเหล่านี้ มีความสว่าง
  และมีความร้อนยิงกว่าทังสเตนขณะถึงจุดหลอมเหลว ซึ่งบางจุดมีอุณหภูมิสูงถึง 3,800 เคลวิน
                      ่
  แต่ที่เห็นว่ามืดเป็ นเพียงความรู ้สึก ที่เกิดจากแสงสว่างที่จากว่า ของชั้นโฟโตสเฟี ยร์ ตดกับจุดนี้
                                                              ้                          ั
  จึงทาให้เรามองเห็นเป็ นจุดดา สาหรับการปรากฏมืดคล้ า (Darkening of Limb) ลักษณะนี้เป็ นสิ่ ง
  ยืนยันให้เราทราบว่าดวงอาทิตย์มิใช่ของแข็ง แต่เป็ นกลุ่มก๊าซ ที่แผ่รังสี ออกไป ได้ไม่เท่ากัน
รู ปภาพ 3 จุดดับบนดวงอาทิตย์
                      (ที่มา http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm)
            จุดดับของดวงอาทิตย์ที่วาเกิดเนื่องจากการกลับทิศหรื อการบิดขั้วแม่เหล็กย่อย ๆ หลายคู่
                                        ่
บนผิวดวงอาทิตย์ ในช่วงต่าสุ ดอาจจะมีจุดดับเพียงแค่ 2-3 จุด แต่ถึงช่วงที่มีมากที่สุดอาจจะมีมากกว่า
160 จุดถึง 200 จุด
            จุดดับของดวงอาทิตย์ยงเพิ่มขึ้นมากดวงอาทิตย์ก็แปรปรวนมาก เพราะมีการระเบิดของ
                                     ิ่
จุดดับเป็ นครั้งคราว จึงส่ งรังสี อนุภาคโปรตอน อิเล็กตรอน ออกไปทัวทุกทิศทาง
                                                                        ่
            ลักษณะการปลดปล่อยรังสี และอนุภาคต่าง ๆ ออกมาจากดวงอาทิตย์ในสภาวะปกติ
เราเรี ยกว่า "ลมสุ ริยะ" (Solar Wind) แต่ในช่วงที่ส่งรังสี และอนุภาครุ นแรง เราเปลี่ยนจากคา
เรี ยกว่า "ลม" เป็ น "พายุ" คือ "พายุสุริยะ" (Solar Storm) ซึ่งจุดดับบนดวงอาทิตย์ประมาณทุก 11 ปี
จะมีมากทาให้เกิดลมสุ ริยะได้บ่อยครั้ง
            ลมสุ ริยะ เคลื่อนที่ดวยความเร็ วสู งและเดินทางมาถึงโลกในเวลา 3 - 4 วัน ลมสุ ริยะเป็ น
                                 ้
อันตรายต่อชีวตบนโลกโชคดีที่โลกมีบรรยากาศห่อหุ มและยังมีสนาม แม่เหล็กเป็ นเกราะป้ องกันภัย
                ิ                                       ้
ไม่ให้อนุภาคเหล่านั้นผ่านลงสู่ ผวโลกได้ เมื่อลมสุ ริยะปะทะกับสนามแม่เหล็กโลกทาให้
                                   ิ
                                                                      ่       ่
สนามแม่เหล็กโลกแปรปรวน และเนื่องจากเส้นแรงแม่เหล็กโลกพุงเข้าและพุงออกจากขั้วโลกเหนือ
และขั้วโลกใต้ในแนวดิ่ง ดังนั้น อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าจากลมสุ ริยะจึงเคลื่อนที่ควงสว่านรอบเส้นแรง
แม่เหล็กโลก วิงเข้าสู่ บรรยากาศโลกทางขั้วเหนือหรื อขั้วใต้ แต่ไม่สามารถผ่านเข้ามาใน แนวเส้น
                  ่
ศูนย์สูตร นอกจากอนุภาคที่มีพลังงานสู งมากเท่านั้น
รู ปภาพ 4 จุดดับของดวงอาทิตย์ปลดปล่อยรังสี ออกมา
                       (ที่มา http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm)

  จ         ากรู ปบนสุ ดเราจะเห็นเส้นหยัก และโค้งขึ้นลง ในแต่ละรอบการขึ้นลงของเส้นนั้น
 คือ รอบของการเพิ่มลดจุดดับของดวงอาทิตย์
          นักวิทยาศาสตร์ พบว่าระดับความแปรปรวนของดวงอาทิตย์ที่กล่าวกันมานั้นส่ งผลต่อ
 บรรยากาศบนโลกของ เราอย่างยิงหากดวงอาทิตย์มีจุดดับปริ มาณเยอะ ๆ อาจจะถึงขั้นส่ งพายุสุริยะ
                                 ่
 รุ นแรงมายังโลกของ เราดังเช่นที่ดวงอาทิตย์เคยส่ งพายุสุริยะมาทาลายระบบไฟฟ้ าของประเทศ
 แคนาดาในปี พ.ศ. 2532 ทาให้ไฟฟ้ าดับกันไปทัวทั้งประเทศกันเลยเชียว
                                              ่




คาถามท้ายกรอบที่ 3 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน
                                ั
หน้าข้อความที่ผด        ิ
....................1) จุดดับบนดวงอาทิตย์เกิดในชั้นโครโมสเฟี ยร์
....................2) การปลดปล่อยรังสี และอนุภาค ออกมาจากดวงอาทิตย์ในสภาวะปกติ เรี ยกว่าลมสุ ริยะ
เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 3 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x
                                   ั
ลงในหน้าข้อความที่ผด        ิ
......... X .........1) จุดดับบนดวงอาทิตย์เกิดในชั้นโครโมสเฟี ยร์
......... .........2) การปลดปล่อยรังสี และอนุภาค ออกมาจากดวงอาทิตย์ในสภาวะปกติ เรี ยกว่าลมสุ ริยะ

                   ตอบถูก เก่ งมากค่ ะ                  ตอบผิด ไม่ เป็ นไร
                   นักเรียนปรบมือให้                    ทบทวนใหม่ แล้ว
                   ตัวเองด้ วย                          พยายามอีกครั้งค่ ะ



                                           กรอบที่ 4
                                  ปรากฏการณ์ ออโรรา

  ปรากฏการณ์ออโรรา

                เมื่อลมสุ ริยะผ่านเข้ามาทาปฏิกิริยากับบรรยากาศชั้นบนของโลกในระดับไอโอโนสเฟี ยร์
  ซึ่งสู งราว 120 กิโลเมตรขึ้นไป อะตอมของก๊าซออกซิ เจนและไนโตรเจนถูกกระตุนเรื องแสงสว่าง
                                                                                   ้
                                                                            ่
  สวยงาม คล้ายม่านของแสงพลิ้วไปในท้องฟ้ ากลางคืน เรี ยกปรากฏการณ์น้ ีวา ออโรรา หรื อ แสงเหนือ
  เมื่อเกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกเหนือ และ แสงใต้ เมื่อเกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกใต้
              ปรากฏการณ์ออโรราเป็ นตัวอย่างปรากฏการณ์ทางฟิ สิ กส์ที่น่าทึ่งที่สุดที่เกิด ขึ้นในอวกาศ
  ใกล้พ้ืนโลก มันอาจปรากฏจากสิ่ งจาง ๆ เป็ นวงนิ่ง แล้วระเบิดออกมาเป็ นสี ต่าง ๆ พุงกระจายภายใน
                                                                                      ่
  เวลาไม่กี่วนาที บางครั้งปรากฏเหมือนจะแตะกับพื้น หรื อบางคราวอาจเห็นมันพุงสู งขึ้นสู่ ทองฟ้ า
              ิ                                                                  ่            ้
  แต่ความจริ งแล้ว แสงออโรราเกิดขึ้นที่ความสู งจากพื้นโลกประมาณ 100 ถึง 200 กิโลเมตร
                                    ่
  บริ เวณบรรยากาศชั้นบนที่อยูใกล้กบอวกาศ ั
รู ปภาพ 5 แสงเหนือ
                        (ที่มา http://mrvop.wordpress.com/tag/ออโรรา/ )




                                       รู ปภาพ 6 แสงใต้
               (ที่มา https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76465)



                                       ไปดูเฉลยคาถามท้ าย
                                       กรอบที่ 4 ได้ เลยครับ

คาถามท้ายกรอบที่ 4 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน
                                 ั
หน้าข้อความที่ผด        ิ
....................1) ปรากฏการณ์ออโรราเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศไอไอโนสเฟี ยร์ ของโลก
....................2) ออโรราที่ที่เกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกใต้ เรี ยกว่าแสงใต้
เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 4 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x
                                     ั
ลงในหน้าข้อความที่ผด      ิ
......... .........1) ปรากฏการณ์ออโรราเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศไอไอโนสเฟี ยร์ ของโลก
......... .........2) ออโรราที่ที่เกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกใต้ เรี ยกว่าแสงใต้

                     ตอบถูก เก่ งมากค่ ะ                   ตอบผิด ไม่ เป็ นไร
                     นักเรียนปรบมือให้                     ทบทวนใหม่ แล้ว
                     ตัวเองด้ วย                           พยายามอีกครั้งค่ ะ


                                           กรอบที่ 5
                        อิทธิพลของดวงอาทิตย์ ที่มีต่อโลก

  อิทธิพลของดวงอาทิตย์ทมีต่อโลก
                       ี่

             1. พลังงานทีมีผลต่ อโลกทันที ได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในสเปกตรัมช่วงต่าง ๆ เช่น
                               ่
  แสงรังสี อินฟราเรด (ความร้อน) รังสี อลตราไวโอเลต เป็ นต้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเหล่านี้จะเดินทาง
                                        ั
  จากดวงอาทิตย์มาถึง โลกในเวลา 8.3 นาที แสงและความร้อนจะเดินทางผ่านบรรยากาศมายังโลก
  เป็ นส่ วนมาก ช่วยให้เกิดการมองเห็น ให้พลังงานความร้อน และช่วยในกระบวนการสังเคราะห์
  ด้วยแสงของพืชที่เป็ นผูผลิตในโซ่อาหาร ส่ วนรังสี อลตราไวโอเลตส่ วนใหญ่จะถูกกั้นด้วยโอโซน
                           ้                         ั
  ในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ รังสี น้ ีช่วยทาให้สาร ergo sterol ใต้ผวหนังเปลี่ยนเป็ นวิตามินดี
                                                                      ิ
  แต่ถาร่ างกายรับมากเกินไปอาจเกิดโรคมะเร็ งที่ผวหนังได้
        ้                                        ิ
             2. พลังงานทีมีผลต่ อโลกภายหลัง พลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลังเป็ นพวกอนุภาคที่มี
                             ่
  ประจุไฟฟ้ าต่าง ๆ จากดวงอาทิตย์ซ่ ึ งไม่สามารถผ่านชั้นบรรยากาศมาถึง ผิว โลกได้ ได้แก่ อนุภาค
  รังสี คอสมิคซึ่งเป็ นอนุภาคโปรตอนและลมสุ ริยะซึ่งเป็ น อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าบวกที่มีความเร็ วต่า
  และอิเล็กตรอน อนุภาคเหล่านี้จะเดินทางมาถึงโลกหลังจากเกิด การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์แล้ว
  ประมาณ 20-40 ชัวโมง จะไปรบกวนสนามแม่เหล็กโลกทาให้ เกิดพายุแม่เหล็กซึ่ งมีผลต่อ
                      ่
  ระบบสื่ อสารทางวิทยุบนโลกเท่านั้น
พลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลังยังทาให้เกิดปรากฎการณ์แสงเหนือแสงใต้ซ่ ึ งอาจเห็นเป็ น
แสงเรื องแวบวาบเป็ นม่านย้อยหรื อเป็ นเส้นสาย หรื อคล้ายเปลวไฟ มีสีต่าง ๆ ปรากฏอยูบนท้องฟ้ า
                                                                                      ่
มักเกิดบ่อยครั้งในฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วง แสงเหนือแสงใต้มีความสัมพันธ์กบสนามแม่เหล็กของ
                                                                                ั
                                   ้ ่
โลก โลกมีสนามแม่เหล็กห่อหุ มอยูรอบตัว อนุภาคของลมสุ ริยะจะไม่สามารถเคลื่อนที่ตดผ่าน     ั
สนามแม่เหล็กเข้ามาตรง ๆ ได้ จึงต้องเคลื่อนที่ไปตามแนวเส้นแรงแม่เหล็กเข้าสู่ บรรยากาศของโลก
ทางขั้วเหนือและขั้วใต้ของโลก อนุภาคของลมสุ ริยะจะไปชนกับอะตอม ของก๊าซออกซิ เจนและ
ไนโตรเจน ในบรรยากาศในระดับสู งจะทาให้เกิดการรับและคายพลังงานออกมาในรู ปแสงสี ต่าง ๆ
                                                           ่
เรี ยกว่าแสงเหนือ-แสงใต้ แสงเหนือ-แสงใต้ ที่ ปรากฏอยูในระดับสู ง 900 กิโลเมตรขึ้นไปจะปรากฏ
เป็ นสี น้ าเงินเป็ นส่ วนใหญ่ ถ้าเกิดในระยะ 80 - 280 กิโลเมตร จะปรากฏเป็ นสี เหลืองผสมระหว่างแสง
แดงในระดับสู งกับแสงสี เขียวใบไม้ในระดับต่า




                             รู ปภาพ 7 อิทธิ พลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก
                      (ที่มา http://punk-style.exteen.com/20110206/entry-3 )
รู ปภาพ 7 ปรากฏการณ์ออโรรา
                    (ที่มา http://lordwas.blogspot.com/2011/01/blog-post.html )




                                           ไปดูเฉลยคาถามท้ าย
                                           กรอบที่ 5 ได้ เลยครับ




คาถามท้ายกรอบที่ 5 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน
                               ั
หน้าข้อความที่ผด        ิ
....................1) กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงเป็ นผลมาจากพลังงานของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกทันที
                                           ้
....................2) ปรากฏการออโรราเป็ นผลมาจากพลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลัง
เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 5 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x
                                 ั
ลงในหน้าข้อความที่ผด      ิ
......... .........1) กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงเป็ นผลมาจากพลังงานของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกทันที
                                           ้
......... .........2) ปรากฏการออโรราเป็ นผลมาจากพลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลัง




          ขอแสดงความยินดีกับน้อง ๆ คนเก่ง
          ทุกคนที่ตอบถูกทุกกรอบนะคะ
          ปรบมือให้ตัวเองด้วยค่ะ
           ส่วนน้อง ๆ ที่ยังไม่เข้าใจเนื้อหา
          อะไรให้กลับไปศึกษาเพิ่มเติมในแต่ละ
          กรอบได้นะคะ




            พยายาม ต้องพยายาม

                                 ใช่เราต้องพยายาม
                                 ให้เต็มที่
                                                                 ไปสรุ ปบทเรียนกันเลยค่ ะ
บทสรุป
         ดวงอาทิตย์ เป็ นดาวฤกษ์ที่ให้พลังงานและแสงสว่างมหาศาลและไม่มีวนหมดสิ้ น
                                                                               ั
นับว่าดวงอาทิตย์เป็ นบ่อเกิดพลังงานที่ยงใหญ่ท่ีสุดของระบบสุ ริยะ สิ่ งมีชีวตบนโลก
                                       ิ่                                  ิ
ของเราทั้งพืชและสัตว์ตองอาศัยพลังงานนี้ พืชต้องการพลังงานแสงเพื่อการสังเคราะห์
                        ้
แสง สัตว์ตองการความร้อน แสงสว่าง และพลังงานจากอาหารเพื่อการดารงชีวตและ
           ้                                                                 ิ
ต้องการพลังงานอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกสบายในการดารงชีวต        ิ
ดังนั้นพลังงานจากดวงอาทิตย์จึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวตบนโลก
                                                         ิ




                                        จาไว้ให้ขึ้นใจนะทุกคน
                                     อย่าลืมทบทวนบ่อย ๆ จะได้
                                       เข้าใจมากยิ่งขึ้นนะครับ
แบบทดสอบหลังเรียน

คาชี้แจง
1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ
2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่ องหมาย   × หน้าข้อที่ถูกต้อง
1. พลังงานความร้อนของดวงอาทิตย์เป็ นพลังงานชนิดใด
 ก.           นิวเคลียร์
 ข. นิวเคลียร์ฟิวชัน
 ค. นิวเคลียร์ฟิสชัน
 ง. ทุกชนิด
2. โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรู ปของอะไร
 ก. อนุภาคและแสง
 ข. แสงและความร้อน
 ค. ความร้อนและพายุแม่เหล็ก
 ง. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาค
3. ปรากฏการณ์ในข้อใดเกิดจากลมสุ ริยะ
 ก. สุ ริยปราคา
          ุ
 ข. พายุแม่เหล็ก
 ค. แสงเหนือ – แสงใต้
 ง. ข้อ ก และข้อ ค
4. ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแก๊สในข้อใดมากที่สุด
 ก. ไฮโดรเจน
 ข. คาร์บอน
 ค. ยูเรเนียม
 ง. ฮีเลียม
5. การระเบิดของกลุ่มแก๊สที่จุดบนดวงอาทิตย์มีผลต่อระบบโทรคมนาคมของโลก สิ่ งนั้นคืออะไร
 ก. รังสี แกมมา
 ข. สนามแม่เหล็ก
 ค. อนุภาคโปรตอน
 ง. รังสี อลตราไวโอเลต
            ั
6. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
    1. ลมสุ ริยะ 2. สนามแม่เหล็ก 3. แสงจากดวงอาทิตย์
    4. รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
              ั
 ก.           1 และ 2
 ข.           2 และ 3
 ค.           3 และ 4
 ง.           4 และ 1
7. การลุกจ้าเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศใดของดวงอาทิตย์
 ก. โพโตสเฟี ยร์
 ข. โครโมสเฟี ยร์
 ค. โคโรนา
 ง. ทุกชั้น
8. จุดดับบนดวงอาทิตย์จะเกิดขึ้นในทุก ๆ กี่ปี
 ก.           12
 ข.           11
 ค.           10
 ง.           9
9. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ออโรรา
 ก. เกิดในชั้นไอโอโนสเฟี ยร์
 ข. เรี ยกว่าแสงเหนือ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกเหนือ
 ค. เรี ยกว่าแสงใต้ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกใต้
 ง. เป็ นปรากฏการณ์ทางเคมีของประจุไฟฟ้ า
10. แสงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลกใช้เวลาประมาณกี่นาที
 ก.           8 นาที
 ข.           7 นาที
 ค.           6 นาที
 ง.           5 นาที
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน




1.   ข 6. ก
2.   ง 7. ค
3.   ง 8. ข
4.   ก 9. ง
5.   ข        10. ก
บรรณานุกรม

กนก จันทร์ขจรและถนัด ศรี บุญเรื อง. หนังสื อเรียนสาระการเรียนรู้ พนฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
                                                                         ื้
         วิทยาศาสตร์ : กายภาพ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาส ม.4 – ม.6 ช่ วงชั้นที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 6.
         กรุ งเทพฯ : บริ ษทอักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จากัด, 2550.
                           ั
กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสื อเรียนรายวิชาพืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
                                                ้
         กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6 ตามหลักสู ตรแกนกลาง
                                ิ
         การศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ที่โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. กรุ งเทพ, 2553.
                         ้
ถนัด ศรี บุญเรื อง. หนังสื อเรียนรายวิชาพืนฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการเปลียนแปลงของโลก
                                            ้                                  ่
         ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์
                                                                                 ิ
         ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ :
                                                  ้
         บริ ษทอักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จากัด, 2553.
               ั
บัญชา แสนทวีและคณะ. หนังสื อปฏิบัติการโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้
         วิทยาศาสตร์ ช่ วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6 ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                                                                         ้
         พุทธศักราช 2544. กรุ งเทพฯ. บริ ษทวัฒนาพานิช จากัด, 22549.
                                              ั

http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm
http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm
http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm
http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm
http://202.143.132.9/innosch/m2/sun.html
http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/worldstar/sc31-4-3.htm
http://jirayu001.blogspot.com/2010/11/blog-post_25.html
http://lordwas.blogspot.com/2011/01/blog-post.html
http://mblog.manager.co.th/researcher/Solar-Cycle-6/
http://mrvop.wordpress.com/tag/ออโรรา/
http://punk-style.exteen.com/20110206/entry-3
http://rachaneza.exteen.com/page-2
http://www.astroschool.in.th/public/teacher/encyclodetail_ans_inc.php?id=46
http://www.krugoo.net
http://www.sunflowercosmos.org/cosmology/cosmology_main/thesun_1.html
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/oraphin_s/darasat/section2_p02.html
http://www.thaigoodview.com/node/70504
http://www.thaispaceweather.com/August06.html
http://www.thaispaceweather.com/IHY/Sun/Sun.htm
http://www.thaispaceweather.com/IHY/Sun/Sun.htm
http://www.vcharkarn.com/varticle/41159
https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76465

More Related Content

What's hot (19)

โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
 
Stars
StarsStars
Stars
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 

Similar to Sun

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...Prachoom Rangkasikorn
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์น้อง อด.
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36krupornpana55
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 

Similar to Sun (20)

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
 
Cbi
CbiCbi
Cbi
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Sun

  • 1. บทเรียนสาเร็จรู ป เรื่อง เอกภพ ดาวฤกษ์ และระบบสุ ริยะ เล่ มที่ 9 “ดวงอาทิตย์ ” รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โดย นางวิรัลฐิตา บุณยนันท์ สิริ ครูชานาญการ โรงเรียนหนองแวงวิทยาคม อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ้ ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คำนำ บทเรี ยนสาเร็ จรู ป รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ว32101 เรื่ อง เอกภพ ดาวฤกษ์และ ระบบสุ ริยะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการจัดการเรี ยนรู ้ ซึ่ งผูเ้ รี ยนสามารถศึกษาหา ความรู ้ดวยตนเอง ทั้งยังสามารถประเมินผลการเรี ยนด้วยตนเองได้ใน ชัวระยะหนึ่ง แต่ท้ งนี้ผเู ้ รี ยน ้ ่ ั ่ ่ จะต้องตั้งอยูบนพื้นฐานของความซื่ อสัตย์ จึงจะรู ้วามีความสามารถในด้านสติปัญญา ในการแก้ไข ่ ปั ญหามากน้อยเพียงใด สาระที่ปรากฏอยูในบทเรี ยนสาเร็ จรู ปนั้น จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจเนื้อหาเป็ น อย่างดี ก่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวตประจาวันได้ ิ บทเรี ย นสาเร็ จรู ป เรื่ อง เอกภพ ดาวฤกษ์และระบบสุ ริยะ มีจานวน ทั้งหมด 9 เล่ม ได้แก่ เล่มที่ 1 กาเนิดเอกภพ เล่มที่ 2 กาแล็กซี เล่มที่ 3 วิวฒนาการของดาวฤกษ์ ั เล่มที่ 4 ความสว่างและอันดับความสว่างของดาวฤกษ์ เล่มที่ 5 สี และอุณหภูมิของดาวฤกษ์ เล่มที่ 6 ระยะห่างระหว่างดาวฤกษ์ เล่มที่ 7 เนบิวลา แหล่งกาเนิดดาวฤกษ์ เล่มที่ 8 กาเนิดระบบสุ ริยะ เล่มที่ 9 ดวงอาทิตย์ บทเรี ยนสาเร็ จ รู ปเล่มนี้ เป็ นเล่มที่ 9 ดวงอาทิตย์ ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะเป็ นประโยชน์ ้ั ่ ต่อการเรี ยนรู ้เนื้อหาสาระวิทยาศาสตร์ ส่ วนที่ไม่ใช่การทดลองในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ตลอดจนผูที่สนใจสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ศึกษานอกเวลา ้ ั เรี ยนเพิ่มเติมเป็ นการทบทวนเนื้อหา และสามารถใช้กบนักเรี ยนที่ขาดเรี ยนบ่อยทาให้เรี ยนไม่ทน ั เพื่อนได้มากพอสมควร นางวิรัลฐิตา บุณยนันท์สิริ ครู ชานาญการ โรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม
  • 3. คาแนะนาสาหรับครู 1. ใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ปชุดนี้ประกอบการเรี ยนรู ้ เรื่ อง ดวงอาทิตย์ 2. ศึกษาบทเรี ยนสาเร็จรู ปตั้งแต่กรอบแรกจนถึงกรอบสุ ดท้าย ทั้งเนื้อหาและ กิจกรรม ให้ เข้าใจก่อน 3. ศึกษาว่ากิจกรรมในกรอบใดที่ครู ตองเป็ นผูให้คาแนะนาช่วยเหลือ หรื อให้ ้ ้ คาปรึ กษาบ้าง 4. ชี้แจงให้นกเรี ยนอ่านคาแนะนาในการใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ป ั และปฏิบติตามทุกขั้นตอน ทุกกรอบ ทั้งเนื้อหา กิจกรรม คาถาม คาตอบหรื อ ั แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน และหลังเรี ยน
  • 4. คาแนะนาสาหรั บนักเรี ยน ่ บทเรี ยนที่นกเรี ยนกาลังศึกษาอยูน้ ีเรี ยกว่า บทเรี ยนสาเร็จรู ป ั ไม่ใช่แบบทดสอบ นักเรี ยนจะสามารถเรี ยนรู ้ในเรื่ อง “ดวงอาทิตย์” ได้ดวยตนเอง้ ขอให้นกเรี ยนทาตามคาแนะนาต่อไปนี้ ั 1. นักเรี ยนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบหรื อแบบฝึ กหัด 2. ก่อนที่นกเรี ยนจะศึกษา ควรทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนเป็ นอันดับแรก ั 3. ตั้งใจทาและศึกษาเนื้อเรื่ องไปตามลาดับทีละกรอบอย่างรอบคอบ ไม่เปิ ดข้ามเพราะจะทาให้สับสน 4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้า ๆ ให้เข้าใจ คิดให้ดี แล้วจึงตอบคาถามลงใน กระดาษเปล่า อย่าขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในบทเรี ยนสาเร็จรู ปนี้ 5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง จึงเปิ ดดูคาตอบในกรอบต่อไป ่ เพื่อตรวจสอบดูวาถูกหรื อผิด ถ้าตอบถูกจงทากรอบต่อไป ถ้าตอบผิด ให้ยอนกลับไป ้ อ่านทบทวน ทาความเข้าใจกับเนื้อเรื่ องเดิมอีกครั้ง เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงแก้คาตอบที่ผดให้ ิ ถูกต้อง 6. ศึกษาเนื้อเรื่ องไปเรื่ อย ๆ “เหนื่อยก็พก” สักครู่ แล้วค่อยศึกษาต่อไป ั 7. เมื่อศึกษาจบทุกกรอบแล้ว ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนด้วย ั เสร็จแล้วตรวจคาตอบในเฉลยหน้าต่อไป เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง
  • 5. มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้ วด ั สาระที่ 7 ดาราศาสตร์ และอวกาศ มาตรฐานการเรียนรู้ ว7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะและกาเเล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ ั สุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ ิ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วด ั ว7.1 ม 4-6/1 สื บค้นและอธิบายการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ ั กาแล็กซี และเอกภพ จุดประสงค์การเรี ยนรู้ สื บค้นข้อมูล อภิปรายผล และสรุ ปเพื่ออธิบายอิทธิพลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกได้
  • 6. แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง 1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ 2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่ องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง 1. พลังงานความร้อนของดวงอาทิตย์เป็ นพลังงานชนิดใด ก. นิวเคลียร์ ข. นิวเคลียร์ฟิวชัน ค. นิวเคลียร์ฟิสชัน ง. ทุกชนิด 2. โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรู ปของอะไร ก. อนุภาคและแสง ข. แสงและความร้อน ค. ความร้อนและพายุแม่เหล็ก ง. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาค 3. ปรากฏการณ์ในข้อใดเกิดจากลมสุ ริยะ ก. สุ ริยปราคา ุ ข. พายุแม่เหล็ก ค. แสงเหนือ – แสงใต้ ง. ข้อ ก และข้อ ค 4. ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแก๊สในข้อใดมากที่สุด ก. ไฮโดรเจน ข. คาร์บอน ค. ยูเรเนียม ง. ฮีเลียม 5. การระเบิดของกลุ่มแก๊สที่จุดบนดวงอาทิตย์มีผลต่อระบบโทรคมนาคมของโลก สิ่ งนั้นคืออะไร ก. รังสี แกมมา ข. สนามแม่เหล็ก ค. อนุภาคโปรตอน ง. รังสี อลตราไวโอเลต ั
  • 7. 6. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1. ลมสุ ริยะ 2. สนามแม่เหล็ก 3. แสงจากดวงอาทิตย์ 4. รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ั ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 4 ง. 4 และ 1 7. การลุกจ้าเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศใดของดวงอาทิตย์ ก. โพโตสเฟี ยร์ ข. โครโมสเฟี ยร์ ค. โคโรนา ง. ทุกชั้น 8. จุดดับบนดวงอาทิตย์จะเกิดขึ้นในทุก ๆ กี่ปี ก. 12 ข. 11 ค. 10 ง. 9 9. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ออโรรา ก. เกิดในชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ ข. เรี ยกว่าแสงเหนือ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกเหนือ ค. เรี ยกว่าแสงใต้ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกใต้ ง. เป็ นปรากฏการณ์ทางเคมีของประจุไฟฟ้ า 10. แสงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลกใช้เวลาประมาณกี่นาที ก. 8 นาที ข. 7 นาที ค. 6 นาที ง. 5 นาที
  • 8. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ข 6. ก 2. ง 7. ค 3. ง 8. ข 4. ก 9. ง 5. ข 10. ก ความพยายาม ่ อยูที่ไหนความสาเร็จ ่ ั่ อยูที่นน
  • 9. ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ เป็ นดาวฤกษ์ที่ให้พลังงานและแสงสว่างมหาศาลและไม่มีวนหมดสิ้ น ั นับว่าดวงอาทิตย์เป็ นบ่อเกิดพลังงานที่ยงใหญ่ท่ีสุดของระบบสุ ริยะ สิ่ งมีชีวตบนโลก ิ่ ิ ของเราทั้งพืชและสัตว์ตองอาศัยพลังงานนี้ พืชต้องการพลังงานแสงเพื่อการสังเคราะห์ ้ แสง สัตว์ตองการความร้อน แสงสว่าง และพลังงานจากอาหารเพื่อการดารงชีวต ้ ิ และต้องการพลังงานอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกสบายในการดารงชีวต ดังนั้น ิ พลังงานจากดวงอาทิตย์จึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวตบนโลกิ ซึ่งนักเรี ยนจะสามารถศึกษา ค้นคว้า สื บค้นได้จากบทเรี ยนสาเร็จรู ปเล่มนี้ (ที่มาภาพ http://www.astroschool.in.th/public/teacher/encyclodetail_ans_inc.php?id=46 ) เปิ ดหน้ าต่ อไปได้ เลยครับ
  • 10. กรอบที่ 1 ข้ อมูลเบืองต้ นเกียวกับดวงอาทิตย์ ้ ่ ดวงอาทิตย์ (Sun) ่ ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ท่ีอยูตรงใจกลางของระบบสุ ริยะ ดวงอาทิตย์ให้แสงสว่าง ่ ความร้อน และพลังงานรู ปแบบอื่นแก่โลก ดวงอาทิตย์อยูในสถานะที่เรี ยกว่า พลาสมา พลาสมาคือ สถานะที่ 4 ของสสาร คือ แก๊สที่อิเล็กตรอนไม่ได้ยดติดกับนิวเคลียส ดังนั้นพลาสมา ึ จึงมีความเป็ นกลางทางประจุไฟฟ้ า รอบ ๆ ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยดาวเคราะห์ต่าง ๆ กับดาวบริ วาร ของมัน ดาวเคราะห์นอยอีกนับแสน และดาวหางอีกเป็ นล้านล้าน ทั้งหมดนี้รวมเรี ยกว่า ระบบสุ ริยะ ้ รู ปภาพ 1 ดวงอาทิตย์ (ที่มา http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm) ดวงอาทิตย์อยูห่างจากโลกประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรื อ 1 AU (Astronomical Unit) ่ มีมวลประมาณ 1.9x1030 กิโลกรัม มีรัศมี (วัดบริ เวณเส้นศูนย์สูตร) ประมาณ 695,500 กิโลเมตร ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจน 75% ต่อมวล ฮีเลียม 25% ต่อมวล และธาตุหนักอื่น ๆ อีก น้อยกว่า 1% ต่อมวล
  • 11. ผิวของดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นได้มีอุณหภูมิประมาณ 5,500 องศาเซลเซียส นักดาราศาสตร์ วัดอุณหภูมิผวดาวฤกษ์ในหน่วยของเคลวิน ซึ่ง 1 เคลวิน เท่ากับ 1 องศาเซลเซี ยส เท่ากับ 1.8 ิ องศา ฟาเรนไฮต์ แต่จุดเริ่ มต้นของเคลวินและองศาเซลเซี ยสแตกต่างกัน โดยเคลวินเริ่ มที่ 0 เคลวิน แต่องศาเซลเซี ยสเริ่ มที่ -273.15 องศาเซลเซียส (เท่ากับ -459.67 องศาฟาเรนไฮต์) ดังนั้น อุณหภูมิ ที่ผวดวงอาทิตย์จะมีค่าประมาณ 5,800 เคลวิน และอุณหภูมิที่แกนกลางของดวงอาทิตย์สูงถึงประมาณ ิ 15 ล้านเคลวิน ข้ อมูลจาเพาะของดวงอาทิตย์ รัศมี 695,990 กิโลเมตร 432,470 ไมล์ 109 เท่าของรัศมีโลก 333,000 เท่าของมวล มวล 1.989 1030 กิโลกรัม 4.376 1030 ปอนด์ ของโลก พลังงานทีดวงอาทิตย์ ่ 3.846 1033 erg/s ปล่อยออกมาต่ อวินาที อุณหภูมิทผวของดวง ี่ ิ 5770 เคลวิน 9,930 องศาฟาเรนไฮต์ อาทิตย์ 2.07 x 10-7 กรัมต่อ 1.6 x 10-4 เท่าของความ ความหนาแน่ นทีผว ่ ิ ลูกบาศก์เซนติเมตร หนาแน่นของอากาศ มวล อื่น ๆ (คาร์บอน, องค์ ประกอบทีผว ่ ิ มวล ไฮโดรเจน 70% มวล ฮีเลียม 28% ไนโตรเจน,ออกซิเจน) 2% 28,000,000 องศาฟา อุณหภูมิทใจกลาง ี่ 15,600,000 เคลวิน เรนไฮต์ ความหนาแน่ น 150 กรัมต่อลูกบาศก์ 8 เท่าของความ ทีใจกลาง ่ เซนติเมตร หนาแน่นของทอง มวลอื่น ๆ (คาร์บอน, องค์ ประกอบทีใจกลาง มวล ไฮโดรเจน 35% ่ มวล ฮีเลียม 63% ไนโตรเจน,ออกซิเจน, และอื่นๆ) 2% อายุ 4.57 x 109 ปี
  • 12. พลังงานของดวงอาทิตย์ มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชัน ซึ่ งเกิดที่แกนกลางของดวงอาทิตย์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชันคือการรวมกันของอะตอมของธาตุเบาได้อะตอมใหม่ที่มี มวลน้อยกว่า มวลรวมของอะตอมเริ่ มต้น และมวลที่หายไปนั้นถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงาน ดวงอาทิตย์มีความเป็ นแม่เหล็ก นักวิทยาศาสตร์ อธิ บายความเป็ นแม่เหล็กของสารใน ่ รู ปแบบของสนามแม่เหล็ก ซึ่ งบริ เวณที่สนามแม่เหล็กมีผลจะรวมถึงอวกาศที่อยูรอบ ๆ วัตถุแม่เหล็ก นั้นด้วย สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์จะเข้มมากที่บริ เวณเล็ก ๆ บนผิวที่เราเรี ยบกว่าจุดมืด (sunspots) บนดวงอาทิตย์ บางครั้งจะมีการลุกจ้า (flares) และการปลดปล่อยก้อนมวลจากชั้นโคโรนา (coronal mass ejection) จากจุดมืดนี้ดวย ้ การลุกจ้า (flares) เป็ นเหตุการณ์ที่รุนแรงมากเหตุการณ์หนึ่งในระบบสุ ริยะ และการปลดปล่อยก้อนมวลจากชั้นโคโรนา (coronal mass ejection) ซึ่ งมีความรุ นแรงมากกว่า การลุกจ้า การปลดปล่อยก้อนมวลครั้งหนึ่งอาจปล่อยมวลสารออกมามากถึง 20,000 ล้านตันสู่ อวกาศ ดวงอาทิตย์เกิดมาเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปี ที่แล้ว และยังมีเชื้อเพลิงมากเพียงพอ ที่จะอยูต่อไปอีก 5,000 ล้านปี หลังจากนั้นมันจะกลายเป็ นดาวยักษ์แดง (red giant) และในที่สุด ่ เมื่อชั้นบรรยากาศของมันหมดไป แกนกลางก็จะยุบตัวกลายเป็ นดาวแคระขาว (white dwarf) ไปดูเฉลยคาถามท้ าย กรอบที่ 1 ได้ เลยครับ คาถามท้ายกรอบที่ 1 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน ั หน้าข้อความที่ผด ิ ....................1) พลังงานของดวงอาทิตย์ มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชัน ....................2) การลุกจ้า เป็ นการปลดปล่อยก้อนมวลพลังงานจากชั้นโคโรนา
  • 13. เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 1 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ั ลงในหน้าข้อความที่ผด ิ ......... .........1) พลังงานของดวงอาทิตย์ มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชัน ......... .........2) การลุกจ้า เป็ นการปลดปล่อยก้อนมวลพลังงานจากชั้นโคโรนา ตอบถูก เก่ งจังเลยค่ ะ ตอบผิด ไม่ เป็ นไร นักเรียนปรบมือให้ ทบทวนใหม่ แล้ว ตัวเองด้ วย พยายามอีกครั้งค่ ะ กรอบที่ 2 โครงสร้ างของดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์เป็ นกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่ เนื่องจากมวลของแก๊สมีขนาดมหาศาล ทาให้มี ความดันที่แกนกลางสู ง มาก ทาให้สามารถเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ แบบรวมตัว (นิวเคลียร์ฟิวชัน) ได้อย่างต่อเนื่อง พลังงานที่ได้ทาให้บริ เวณแกนกลางของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิกว่า 15 ล้านเคลวิน พลังงานความร้อนที่ได้ทาให้เกิดกระบวนการต่อเนื่องต่าง ๆ มากมาย โดยส่ วนใหญ่จะถูกดูดกลืน โดยแก๊สในดวงอาทิตย์เอง ส่ งผลให้บริ เวณผิวนอกของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิเหลือเพียงประมาณ 6,000 เคลวิน และทาให้แสงแดด มีการกระจายความเข้มใกล้เคียงกับการแผ่รังสี ของวัตถุดาที่ 6,000 เคลวินนันเอง ่ โครงสร้ างของดวงอาทิตย์ 1. โครงสร้ างภายในดวงอาทิตย์ (solar interior) ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ 1.1 แกนกลาง (Core) แกนกลาง ของดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งกาเนิดพลังงาน นิวเคลียร์ ฟิ วชัน มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 27 เท่าของโลก มีอุณหภูมิสูงกว่า 15 ล้านองศาเซลเซียส 1.2 เขตแผ่รังสี (Radiative zone) เป็ นส่ วนที่รับและดูดกลืนรังสี อนเนื่องมาจากพลังงาน ั ที่ผลิตได้ และความร้อนจากแกนกลางถ่ายทอดสู่ ส่วนนอกโดยการแผ่รังสี แบบคลื่น 1.3 เขตการพารังสี (Convection zone) เป็ นชั้นที่อนุภาคซึ่ งได้รับพลังงานความร้อนจาก ชั้นแผ่รังสี มีการเคลื่อนที่ ถ่ายเทพลังงานให้กนและกัน ทาให้มีการพาพลังงานออกมาสู่ ผวชั้นนอกได้ ั ิ
  • 14. 2. ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ แบ่งออกได้เป็ น 3 ชั้น (layers) คือ 2.1 โฟโตสเฟี ยร์ (photosphere) เป็ นพื้นผิวของดวงอาทิตย์ซ่ ึ งประกอบด้วยก๊าซร้อน ซึ่ งเคลื่อนที่ตลอดเวลา จะบริ เวณที่เป็ นเปลือกและมีลกษณะส่ องสว่าง ั 2.2 โครโมสเฟี ยร์ (chromosphere) เป็ นบรรยากาศบาง ๆ สู งขึ้นจากชั้นโฟโตสเฟี ยร์ ่ มีอุณหภูมิอยูในช่วง 6,000 - 20,000 องศาเซลเซี ยส เป็ นชั้นที่เกิดปรากฏการณ์รุนแรงบนดวงอาทิตย์ เช่น พวยก๊าซ เส้นสายยาวของลาก๊าซ หรื อ การระเบิดลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ 2.3 โคโรนา (corona) เป็ นบรรยากาศของดวงอาทิตย์แผ่กระจายกว้างไกลจาก ดวงอาทิตย์ มีความสว่างน้อย จะต้องรอให้เกิดสุ ริยปราคาเต็มดวงจึงสังเกตเห็นโคโรนา โดยที่ ุ ระหว่างชั้นโครโมสเฟี ยร์ และชั้นโคโรนาจะมีช้ นบาง ๆ ที่เรี ยกว่า transition regions อยู่ ั ด้ วย รู ปภาพ 2 โครงสร้างของดวงอาทิตย์ (ที่มา http://www.thaispaceweather.com/IHY/Sun/Sun.htm ) ไปดูเฉลยคาถามท้ าย กรอบที่ 2 ได้ เลยครับ คาถามท้ายกรอบที่ 2 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน ั หน้าข้อความที่ผด ิ ....................1) เขตแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งกาเนิดพลังงานนิวเคลียร์ ฟิวชัน ....................2) พื้นผิวของดวงอาทิตย์ประกอบด้วยก๊าซร้อนมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา
  • 15. เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 2 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ั ลงในหน้าข้อความที่ผด ิ ......... X .........1) เขตแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งกาเนิดพลังงานนิวเคลียร์ ฟิวชัน ......... ........2) พื้นผิวของดวงอาทิตย์ประกอบด้วยก๊าซร้อนมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ตอบถูก เก่ งมากค่ ะ ตอบผิด ไม่ เป็ นไร นักเรียนปรบมือให้ ทบทวนใหม่ แล้ว ตัวเองด้ วย พยายามอีกครั้งค่ ะ กรอบที่ 3 จุดดับบนดวงอาทิตย์ จุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspot) ลักษณะพื้นผิวของ ดวงอาทิตย์น้ น ั จะเห็นภาพปรากฏที่เรี ยกว่า จุดดาบนดวงอาทิตย์หรื อ จุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็ นบริ เวณสี คล้ าบนตัวดวงอาทิตย์หรื อบนชั้นโฟโตสเฟี ยร์ โดยมีส่วนกลางดาคล้ ากว่าเรี ยกว่า เงามืด (Umbra) ส่ วนรอบๆมีสีจางกว่าเรี ยกว่า เงาสลัว (Penumbra) บริ เวณจุดบนดวงอาทิตย์น้ ี ไม่ได้มืดหรื อดับไป ดังที่บางคนเข้าใจ แท้จริ งแล้วจุดเหล่านี้ มีความสว่าง และมีความร้อนยิงกว่าทังสเตนขณะถึงจุดหลอมเหลว ซึ่งบางจุดมีอุณหภูมิสูงถึง 3,800 เคลวิน ่ แต่ที่เห็นว่ามืดเป็ นเพียงความรู ้สึก ที่เกิดจากแสงสว่างที่จากว่า ของชั้นโฟโตสเฟี ยร์ ตดกับจุดนี้ ้ ั จึงทาให้เรามองเห็นเป็ นจุดดา สาหรับการปรากฏมืดคล้ า (Darkening of Limb) ลักษณะนี้เป็ นสิ่ ง ยืนยันให้เราทราบว่าดวงอาทิตย์มิใช่ของแข็ง แต่เป็ นกลุ่มก๊าซ ที่แผ่รังสี ออกไป ได้ไม่เท่ากัน
  • 16. รู ปภาพ 3 จุดดับบนดวงอาทิตย์ (ที่มา http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm) จุดดับของดวงอาทิตย์ที่วาเกิดเนื่องจากการกลับทิศหรื อการบิดขั้วแม่เหล็กย่อย ๆ หลายคู่ ่ บนผิวดวงอาทิตย์ ในช่วงต่าสุ ดอาจจะมีจุดดับเพียงแค่ 2-3 จุด แต่ถึงช่วงที่มีมากที่สุดอาจจะมีมากกว่า 160 จุดถึง 200 จุด จุดดับของดวงอาทิตย์ยงเพิ่มขึ้นมากดวงอาทิตย์ก็แปรปรวนมาก เพราะมีการระเบิดของ ิ่ จุดดับเป็ นครั้งคราว จึงส่ งรังสี อนุภาคโปรตอน อิเล็กตรอน ออกไปทัวทุกทิศทาง ่ ลักษณะการปลดปล่อยรังสี และอนุภาคต่าง ๆ ออกมาจากดวงอาทิตย์ในสภาวะปกติ เราเรี ยกว่า "ลมสุ ริยะ" (Solar Wind) แต่ในช่วงที่ส่งรังสี และอนุภาครุ นแรง เราเปลี่ยนจากคา เรี ยกว่า "ลม" เป็ น "พายุ" คือ "พายุสุริยะ" (Solar Storm) ซึ่งจุดดับบนดวงอาทิตย์ประมาณทุก 11 ปี จะมีมากทาให้เกิดลมสุ ริยะได้บ่อยครั้ง ลมสุ ริยะ เคลื่อนที่ดวยความเร็ วสู งและเดินทางมาถึงโลกในเวลา 3 - 4 วัน ลมสุ ริยะเป็ น ้ อันตรายต่อชีวตบนโลกโชคดีที่โลกมีบรรยากาศห่อหุ มและยังมีสนาม แม่เหล็กเป็ นเกราะป้ องกันภัย ิ ้ ไม่ให้อนุภาคเหล่านั้นผ่านลงสู่ ผวโลกได้ เมื่อลมสุ ริยะปะทะกับสนามแม่เหล็กโลกทาให้ ิ ่ ่ สนามแม่เหล็กโลกแปรปรวน และเนื่องจากเส้นแรงแม่เหล็กโลกพุงเข้าและพุงออกจากขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต้ในแนวดิ่ง ดังนั้น อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าจากลมสุ ริยะจึงเคลื่อนที่ควงสว่านรอบเส้นแรง แม่เหล็กโลก วิงเข้าสู่ บรรยากาศโลกทางขั้วเหนือหรื อขั้วใต้ แต่ไม่สามารถผ่านเข้ามาใน แนวเส้น ่ ศูนย์สูตร นอกจากอนุภาคที่มีพลังงานสู งมากเท่านั้น
  • 17. รู ปภาพ 4 จุดดับของดวงอาทิตย์ปลดปล่อยรังสี ออกมา (ที่มา http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm) จ ากรู ปบนสุ ดเราจะเห็นเส้นหยัก และโค้งขึ้นลง ในแต่ละรอบการขึ้นลงของเส้นนั้น คือ รอบของการเพิ่มลดจุดดับของดวงอาทิตย์ นักวิทยาศาสตร์ พบว่าระดับความแปรปรวนของดวงอาทิตย์ที่กล่าวกันมานั้นส่ งผลต่อ บรรยากาศบนโลกของ เราอย่างยิงหากดวงอาทิตย์มีจุดดับปริ มาณเยอะ ๆ อาจจะถึงขั้นส่ งพายุสุริยะ ่ รุ นแรงมายังโลกของ เราดังเช่นที่ดวงอาทิตย์เคยส่ งพายุสุริยะมาทาลายระบบไฟฟ้ าของประเทศ แคนาดาในปี พ.ศ. 2532 ทาให้ไฟฟ้ าดับกันไปทัวทั้งประเทศกันเลยเชียว ่ คาถามท้ายกรอบที่ 3 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน ั หน้าข้อความที่ผด ิ ....................1) จุดดับบนดวงอาทิตย์เกิดในชั้นโครโมสเฟี ยร์ ....................2) การปลดปล่อยรังสี และอนุภาค ออกมาจากดวงอาทิตย์ในสภาวะปกติ เรี ยกว่าลมสุ ริยะ
  • 18. เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 3 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ั ลงในหน้าข้อความที่ผด ิ ......... X .........1) จุดดับบนดวงอาทิตย์เกิดในชั้นโครโมสเฟี ยร์ ......... .........2) การปลดปล่อยรังสี และอนุภาค ออกมาจากดวงอาทิตย์ในสภาวะปกติ เรี ยกว่าลมสุ ริยะ ตอบถูก เก่ งมากค่ ะ ตอบผิด ไม่ เป็ นไร นักเรียนปรบมือให้ ทบทวนใหม่ แล้ว ตัวเองด้ วย พยายามอีกครั้งค่ ะ กรอบที่ 4 ปรากฏการณ์ ออโรรา ปรากฏการณ์ออโรรา เมื่อลมสุ ริยะผ่านเข้ามาทาปฏิกิริยากับบรรยากาศชั้นบนของโลกในระดับไอโอโนสเฟี ยร์ ซึ่งสู งราว 120 กิโลเมตรขึ้นไป อะตอมของก๊าซออกซิ เจนและไนโตรเจนถูกกระตุนเรื องแสงสว่าง ้ ่ สวยงาม คล้ายม่านของแสงพลิ้วไปในท้องฟ้ ากลางคืน เรี ยกปรากฏการณ์น้ ีวา ออโรรา หรื อ แสงเหนือ เมื่อเกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกเหนือ และ แสงใต้ เมื่อเกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกใต้ ปรากฏการณ์ออโรราเป็ นตัวอย่างปรากฏการณ์ทางฟิ สิ กส์ที่น่าทึ่งที่สุดที่เกิด ขึ้นในอวกาศ ใกล้พ้ืนโลก มันอาจปรากฏจากสิ่ งจาง ๆ เป็ นวงนิ่ง แล้วระเบิดออกมาเป็ นสี ต่าง ๆ พุงกระจายภายใน ่ เวลาไม่กี่วนาที บางครั้งปรากฏเหมือนจะแตะกับพื้น หรื อบางคราวอาจเห็นมันพุงสู งขึ้นสู่ ทองฟ้ า ิ ่ ้ แต่ความจริ งแล้ว แสงออโรราเกิดขึ้นที่ความสู งจากพื้นโลกประมาณ 100 ถึง 200 กิโลเมตร ่ บริ เวณบรรยากาศชั้นบนที่อยูใกล้กบอวกาศ ั
  • 19. รู ปภาพ 5 แสงเหนือ (ที่มา http://mrvop.wordpress.com/tag/ออโรรา/ ) รู ปภาพ 6 แสงใต้ (ที่มา https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76465) ไปดูเฉลยคาถามท้ าย กรอบที่ 4 ได้ เลยครับ คาถามท้ายกรอบที่ 4 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน ั หน้าข้อความที่ผด ิ ....................1) ปรากฏการณ์ออโรราเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศไอไอโนสเฟี ยร์ ของโลก ....................2) ออโรราที่ที่เกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกใต้ เรี ยกว่าแสงใต้
  • 20. เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 4 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ั ลงในหน้าข้อความที่ผด ิ ......... .........1) ปรากฏการณ์ออโรราเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศไอไอโนสเฟี ยร์ ของโลก ......... .........2) ออโรราที่ที่เกิดในท้องฟ้ าใกล้แถบขั้วโลกใต้ เรี ยกว่าแสงใต้ ตอบถูก เก่ งมากค่ ะ ตอบผิด ไม่ เป็ นไร นักเรียนปรบมือให้ ทบทวนใหม่ แล้ว ตัวเองด้ วย พยายามอีกครั้งค่ ะ กรอบที่ 5 อิทธิพลของดวงอาทิตย์ ที่มีต่อโลก อิทธิพลของดวงอาทิตย์ทมีต่อโลก ี่ 1. พลังงานทีมีผลต่ อโลกทันที ได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในสเปกตรัมช่วงต่าง ๆ เช่น ่ แสงรังสี อินฟราเรด (ความร้อน) รังสี อลตราไวโอเลต เป็ นต้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเหล่านี้จะเดินทาง ั จากดวงอาทิตย์มาถึง โลกในเวลา 8.3 นาที แสงและความร้อนจะเดินทางผ่านบรรยากาศมายังโลก เป็ นส่ วนมาก ช่วยให้เกิดการมองเห็น ให้พลังงานความร้อน และช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชที่เป็ นผูผลิตในโซ่อาหาร ส่ วนรังสี อลตราไวโอเลตส่ วนใหญ่จะถูกกั้นด้วยโอโซน ้ ั ในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ รังสี น้ ีช่วยทาให้สาร ergo sterol ใต้ผวหนังเปลี่ยนเป็ นวิตามินดี ิ แต่ถาร่ างกายรับมากเกินไปอาจเกิดโรคมะเร็ งที่ผวหนังได้ ้ ิ 2. พลังงานทีมีผลต่ อโลกภายหลัง พลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลังเป็ นพวกอนุภาคที่มี ่ ประจุไฟฟ้ าต่าง ๆ จากดวงอาทิตย์ซ่ ึ งไม่สามารถผ่านชั้นบรรยากาศมาถึง ผิว โลกได้ ได้แก่ อนุภาค รังสี คอสมิคซึ่งเป็ นอนุภาคโปรตอนและลมสุ ริยะซึ่งเป็ น อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าบวกที่มีความเร็ วต่า และอิเล็กตรอน อนุภาคเหล่านี้จะเดินทางมาถึงโลกหลังจากเกิด การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์แล้ว ประมาณ 20-40 ชัวโมง จะไปรบกวนสนามแม่เหล็กโลกทาให้ เกิดพายุแม่เหล็กซึ่ งมีผลต่อ ่ ระบบสื่ อสารทางวิทยุบนโลกเท่านั้น
  • 21. พลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลังยังทาให้เกิดปรากฎการณ์แสงเหนือแสงใต้ซ่ ึ งอาจเห็นเป็ น แสงเรื องแวบวาบเป็ นม่านย้อยหรื อเป็ นเส้นสาย หรื อคล้ายเปลวไฟ มีสีต่าง ๆ ปรากฏอยูบนท้องฟ้ า ่ มักเกิดบ่อยครั้งในฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วง แสงเหนือแสงใต้มีความสัมพันธ์กบสนามแม่เหล็กของ ั ้ ่ โลก โลกมีสนามแม่เหล็กห่อหุ มอยูรอบตัว อนุภาคของลมสุ ริยะจะไม่สามารถเคลื่อนที่ตดผ่าน ั สนามแม่เหล็กเข้ามาตรง ๆ ได้ จึงต้องเคลื่อนที่ไปตามแนวเส้นแรงแม่เหล็กเข้าสู่ บรรยากาศของโลก ทางขั้วเหนือและขั้วใต้ของโลก อนุภาคของลมสุ ริยะจะไปชนกับอะตอม ของก๊าซออกซิ เจนและ ไนโตรเจน ในบรรยากาศในระดับสู งจะทาให้เกิดการรับและคายพลังงานออกมาในรู ปแสงสี ต่าง ๆ ่ เรี ยกว่าแสงเหนือ-แสงใต้ แสงเหนือ-แสงใต้ ที่ ปรากฏอยูในระดับสู ง 900 กิโลเมตรขึ้นไปจะปรากฏ เป็ นสี น้ าเงินเป็ นส่ วนใหญ่ ถ้าเกิดในระยะ 80 - 280 กิโลเมตร จะปรากฏเป็ นสี เหลืองผสมระหว่างแสง แดงในระดับสู งกับแสงสี เขียวใบไม้ในระดับต่า รู ปภาพ 7 อิทธิ พลของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก (ที่มา http://punk-style.exteen.com/20110206/entry-3 )
  • 22. รู ปภาพ 7 ปรากฏการณ์ออโรรา (ที่มา http://lordwas.blogspot.com/2011/01/blog-post.html ) ไปดูเฉลยคาถามท้ าย กรอบที่ 5 ได้ เลยครับ คาถามท้ายกรอบที่ 5 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ลงใน ั หน้าข้อความที่ผด ิ ....................1) กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงเป็ นผลมาจากพลังงานของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกทันที ้ ....................2) ปรากฏการออโรราเป็ นผลมาจากพลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลัง
  • 23. เฉลยคาถามท้ายกรอบที่ 5 ให้นกเรี ยนเติมเครื่ องหมาย  ลงหน้าข้อความที่ถูก และเติมเครื่ องหมาย x ั ลงในหน้าข้อความที่ผด ิ ......... .........1) กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงเป็ นผลมาจากพลังงานของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลกทันที ้ ......... .........2) ปรากฏการออโรราเป็ นผลมาจากพลังงานที่มีผลต่อโลกภายหลัง ขอแสดงความยินดีกับน้อง ๆ คนเก่ง ทุกคนที่ตอบถูกทุกกรอบนะคะ ปรบมือให้ตัวเองด้วยค่ะ ส่วนน้อง ๆ ที่ยังไม่เข้าใจเนื้อหา อะไรให้กลับไปศึกษาเพิ่มเติมในแต่ละ กรอบได้นะคะ พยายาม ต้องพยายาม ใช่เราต้องพยายาม ให้เต็มที่ ไปสรุ ปบทเรียนกันเลยค่ ะ
  • 24. บทสรุป ดวงอาทิตย์ เป็ นดาวฤกษ์ที่ให้พลังงานและแสงสว่างมหาศาลและไม่มีวนหมดสิ้ น ั นับว่าดวงอาทิตย์เป็ นบ่อเกิดพลังงานที่ยงใหญ่ท่ีสุดของระบบสุ ริยะ สิ่ งมีชีวตบนโลก ิ่ ิ ของเราทั้งพืชและสัตว์ตองอาศัยพลังงานนี้ พืชต้องการพลังงานแสงเพื่อการสังเคราะห์ ้ แสง สัตว์ตองการความร้อน แสงสว่าง และพลังงานจากอาหารเพื่อการดารงชีวตและ ้ ิ ต้องการพลังงานอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกสบายในการดารงชีวต ิ ดังนั้นพลังงานจากดวงอาทิตย์จึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวตบนโลก ิ จาไว้ให้ขึ้นใจนะทุกคน อย่าลืมทบทวนบ่อย ๆ จะได้ เข้าใจมากยิ่งขึ้นนะครับ
  • 25. แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง 1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ 2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่ องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง 1. พลังงานความร้อนของดวงอาทิตย์เป็ นพลังงานชนิดใด ก. นิวเคลียร์ ข. นิวเคลียร์ฟิวชัน ค. นิวเคลียร์ฟิสชัน ง. ทุกชนิด 2. โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรู ปของอะไร ก. อนุภาคและแสง ข. แสงและความร้อน ค. ความร้อนและพายุแม่เหล็ก ง. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาค 3. ปรากฏการณ์ในข้อใดเกิดจากลมสุ ริยะ ก. สุ ริยปราคา ุ ข. พายุแม่เหล็ก ค. แสงเหนือ – แสงใต้ ง. ข้อ ก และข้อ ค 4. ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแก๊สในข้อใดมากที่สุด ก. ไฮโดรเจน ข. คาร์บอน ค. ยูเรเนียม ง. ฮีเลียม 5. การระเบิดของกลุ่มแก๊สที่จุดบนดวงอาทิตย์มีผลต่อระบบโทรคมนาคมของโลก สิ่ งนั้นคืออะไร ก. รังสี แกมมา ข. สนามแม่เหล็ก ค. อนุภาคโปรตอน ง. รังสี อลตราไวโอเลต ั
  • 26. 6. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1. ลมสุ ริยะ 2. สนามแม่เหล็ก 3. แสงจากดวงอาทิตย์ 4. รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ั ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 4 ง. 4 และ 1 7. การลุกจ้าเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศใดของดวงอาทิตย์ ก. โพโตสเฟี ยร์ ข. โครโมสเฟี ยร์ ค. โคโรนา ง. ทุกชั้น 8. จุดดับบนดวงอาทิตย์จะเกิดขึ้นในทุก ๆ กี่ปี ก. 12 ข. 11 ค. 10 ง. 9 9. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ออโรรา ก. เกิดในชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ ข. เรี ยกว่าแสงเหนือ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกเหนือ ค. เรี ยกว่าแสงใต้ เมื่อเกิดในแถบขั้วโลกใต้ ง. เป็ นปรากฏการณ์ทางเคมีของประจุไฟฟ้ า 10. แสงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลกใช้เวลาประมาณกี่นาที ก. 8 นาที ข. 7 นาที ค. 6 นาที ง. 5 นาที
  • 27. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1. ข 6. ก 2. ง 7. ค 3. ง 8. ข 4. ก 9. ง 5. ข 10. ก
  • 28. บรรณานุกรม กนก จันทร์ขจรและถนัด ศรี บุญเรื อง. หนังสื อเรียนสาระการเรียนรู้ พนฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ื้ วิทยาศาสตร์ : กายภาพ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาส ม.4 – ม.6 ช่ วงชั้นที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพฯ : บริ ษทอักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จากัด, 2550. ั กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสื อเรียนรายวิชาพืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6 ตามหลักสู ตรแกนกลาง ิ การศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ที่โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. กรุ งเทพ, 2553. ้ ถนัด ศรี บุญเรื อง. หนังสื อเรียนรายวิชาพืนฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการเปลียนแปลงของโลก ้ ่ ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ิ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ : ้ บริ ษทอักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จากัด, 2553. ั บัญชา แสนทวีและคณะ. หนังสื อปฏิบัติการโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช่ วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6 ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ พุทธศักราช 2544. กรุ งเทพฯ. บริ ษทวัฒนาพานิช จากัด, 22549. ั http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm http://202.143.132.2/el14/sc/sc40_025/1sun.htm http://202.143.132.9/innosch/m2/sun.html http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/worldstar/sc31-4-3.htm http://jirayu001.blogspot.com/2010/11/blog-post_25.html http://lordwas.blogspot.com/2011/01/blog-post.html http://mblog.manager.co.th/researcher/Solar-Cycle-6/ http://mrvop.wordpress.com/tag/ออโรรา/ http://punk-style.exteen.com/20110206/entry-3 http://rachaneza.exteen.com/page-2