SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ระบบประชาสัมพันธ์ผ่านสืÉออิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ 
Integrated Electronic Public Relations System 
กิตติพันธ์ ศรศักดา1ณรงค์ อินธรักษ์2กานดา สายแก้ว3พัชราภรณ์ จิรานุวัฒนวงษ์4ชาญณรงค์ จันทร์พานิชย์5 
ศรีชัย เหล่าพงษ์เจริญ6ชุมพร พารา7 ฤทธิชัย นามนนท์8มงคล เต็งรุ่งโรจน์9อนัตต์ เจ่าสกุล10 
1,3,4,5,6,9,10ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 
2,3,10ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 
7,8กองสÉือสารองค์กร สำนักอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น 40002 
E-mail : ksorn@kku.ac.th 
Abstract 
Nowadays more people access information 
via social network or mobile applications. Thus 
it is important for an organization to get their 
information exposed not only through their web 
sites but also through social network apps or 
mobile apps. We propose a web service or web 
API (Application Programming Interface) for 
university public relations such that this service 
can be easily invocated by client apps, such as 
social network apps or mobile apps. The web 
service consists of the main functions to give 
information about a university such as getting 
pictures, audio, videos, events, and places. 
Besides the web services, we also developed 
the web portal that allows users to easily and 
conveniently publish news, events, newsletters, 
and FAQs (Frequently Asked Questions). This 
web information management solves the 
problem of copying and pasting data multiple 
times. The web portal users can select whether 
they would like to publish news via web site, 
any Facebook groups, or any Facebook pages. 
The web portal evaluation shows that the users 
have satisfied with the web portal in the level 4 
out of 5. What we need to improve is to make 
user interface easier to use and understand. 
Neverthelss, to the best of our interest, we 
believe that our paper is the first that proposed 
and developed the systemthat use Web API to 
effectively spread news and information via 
web sites, social media, mobile apps, and other 
potential apps in future. 
Keyword: Web API, Web service, Facebook 
API post to group 
บทคัดย่อ 
ในปัจจุบันผู้คนมักเข้าถึงข้อมูลผู้อืÉนผ่านทางเครือข่าย 
สังคมหรือโมบายแอปพลิเคชัน จึงเป็นสิÉงสำคัญสำหรับ 
องค์กรทีÉจะได้รับข้อมูลของพวกเขาสัมผัสไม่เฉพาะผ่าน 
เว็บไซต์ของพวกเขาเท่านÊัน แต่ควรได้รับข้อมูลผ่าน 
เครือข่ายทางสังคมและโมบายแอปพลิเคชัน บทความนีÊ 
นำเสนอบริการเว็บเซอร์วิสหรือเว็บเอพีไอเพืÉอการ 
ประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัย การบริการดังกล่าวสามารถ 
ถูกเรียกได้อย่างง่ายดายโดยแอปเครือข่ายทางสังคมและ 
โมบายแอปพลิเคชัน เว็บเซอร์วิสประกอบไปด้วยฟังก์ชัน 
หลักทีÉจะให้ข้อมูลเกีÉยวกับมหาวิทยาลัยเช่น การให้บริการ 
ข้อมูลภาพ, เสียง, วิดีโอ, เหตุการณ์และสถานทีÉ นอกจาก 
เว็บเซอร์วิส พวกเราได้พัฒนาเว็บจัดการการเผยแพร่ 
ข้อมูลซึÉงทำให้ผู้ใช้สามารถเผยแพร่ข่าว กิจกรรม วารสาร 
ข่าว และคำถามทีÉมักพบบ่อยได้ง่ายและสะกวด เว็บ 
จัดการข้อมูลนีÊช่วยแก้ปัญหาทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องคัดลอกและ 
วางข้อมูลหลายครัÊง ผู้ใช้เว็บจัดการนีÊสามารถเลือกทีÉจะ 
เผยแพร่ข่าวผ่านเว็บไซต์ กลุ่มเฟซบุ๊ก และเฟซบุ๊กเพจทีÉ 
ผู้ใช้ต้องการ ผลการประเมินผู้ใช้เว็บจัดการข้อมูลพบว่า 
ได้ระดับความพึงพอใจโดยเฉลีÉยประมาณ4จาก 5 ส่วนทีÉ 
ต้องพัฒนาคือส่วนประสานติดต่อกับผู้ใช้ให้เข้าใจมากขึÊน 
และใช้งานได้ง่ายมากขึÊนอย่างไรก็ตาม เราเชืÉอว่าบทความ 
ทÉีนำเสนอนีÊเป็นบทความแรกทÉีนำเสนอการใช้เว็บเซอร์วิส 
เพืÉอช่วยในการเผยแพร่ข้อมูลและข่าวอย่างมีประสิทธิภาพ
ทางเว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย โมบายแอปพลิเคชัน และแอป 
อืÉนๆ ทีÉอาจจะพัฒนาในอนาคต 
1. บทนำ 
1.1 ความเป็นมา 
ปัจจุบันไม่ว่าองค์กรใดจำเป็นจะต้องการสืÉอสาร 
องค์กรทÉีมีประสิทธิภาพ ทัÊงการสÉือสารภายในองค์กรและ 
การสืÉอสารไปยังกลุ่มเป้าหมายภายนอกเพืÉอให้เกิดความ 
เข้าใจ ความร่วมมือ การประสานงานทีÉดี และเกิดการรับรู้ 
ถึงภาพลักษณ์ทีÉดีขององค์กร 
ในศตวรรษทีÉ 21 เป็นยุคของข้อมูลข่าวสารทีÉมนุษย์ 
สามารถรับรู้ เรียนรู้ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ได้ 
อย่างรวดเร็วผ่านโซเชียลมีเดียและอุปกรณ์โมบาย องค์กร 
ต่าง ๆ จึงต้องมีระบบประชาสัมพันธ์ทีÉทันสมัยและมี 
ประสิทธิภาพเพืÉอเพิÉมขีดความสามารถในการบริหาร 
จัดการองค์กรให้สามารถดำเนินต่อไปได้และเกิดความ 
ได้เปรียบในการแข่งขันเพืÉอความเป็นผู้นำ ทีÉก้าวนำ 
การรู้เท่ากันการเปลีÉยนแปลงและสามารถปรับตัวให้ 
สามารถก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมันÉคงจึงเป็นสิÉงจำเป็น 
อย่างยิÉงซึÉงเครÉืองมือในการสÉือสารทÉีมีประสิทธิภาพในการ 
รับรู้ข้อมูลข่าวสารในยุคนีÊคือการสืÉอสารผ่านเครือข่าย 
เ ท ค โ น โ ล ยีส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ สืÉอ อิเ ล็ก ท ร อ นิค ส์ 
เนÉืองจากยุคนีÊเป็นยุคเว็บ 2.0 และสÉือสังคม ผู้คน 
มักจะใช้เวลาส่วนใหญ่ ในการออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต 
กับเว็บเครือข่ายสังคม เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook), กู 
เกิลพลัส (Google Plus), ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นต้น 
อีกทัÊงการสืÉอสารทีÉรวดเร็วและกำลังได้รับความนิยมอีก 
ช่องทางหนึÉงคือ การใช้งานสÉือออนไลน์ผ่านมือถือสมาร์ท 
โฟนและแท็บเล็ต 
ดังนัÊนบทความนีÊจึงได้นำเสนอระบบประชาสัมพันธ์แบบ 
บูรณาการให้เข้ากับการเปลÉียนแปลงนีÊด้วยการพัฒนา 
ระบบการประชาสัมพันธ์เพืÉอรองรับผู้ใช้งานผ่านช่องทาง 
หลักๆทัÊง 3 ช่องทางคือ 
1. เว็บไซต์ 
2. โซเชียลมีเดีย (Social Media) 
3. อุปกรณ์โมบาย 
ด้วยเ ห ตุผ ล ดัง ก ล่า วข้า ง ต้น จึง ต้อง พัฒ น า ระ บ บ 
ประชาสัมพันธ์ผ่านสืÉออิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการและ 
มีประสิทธิภาพ โดยมีการใช้เว็บเซอร์วิสดังรูปทีÉ 1 เพืÉอ 
เป็นตัวกลางคอยรับส่งข้อมูลระหว่างส่วนอÉืนๆ ซึÉง 
ประกอบไปด้วย 
1. ฐานข้อมูล (Database)ทีÉเป็น MySQLใช้เก็บข้อมูล 
ข่าวสารต่างๆ 
2. เว็บกลางเพืÉอใช้ในการจัดการข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ 
(Web Portal) ซึÉงจะเผยแพร่ข่าวทÉีเว็บไซต์และเฟซบุ๊ก 
เพจและกลุ่มต่างๆ 
3. เว็บไซต์ขององค์กร (KKU Website) เว็บทีÉแสดง 
ข่าวสารของมหาวิทยาลัย 
ขอนแก่น 
4. โมบายเว็บไซต์ (Mobile Website) เว็บไซต์ทีÉ 
ปรับแต่งมาให้เหมาะสมทีÉใช้งานบนอุปกรณ์เคลืÉอนทีÉ 
ต่างๆ เช่น สมาร์ทโฟน 
รูปทีÉ 1 ภาพรวมการทำงานของระบบ 
บทความนีÊนำเสนอระบบประชาสัมพันธ์ทีÉได้พัฒนา 
และนำไปใช้งานในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยทีÉมีเว็บ 
เซอร์วิสทีÉ http://www.kku.ac.th/ikku/api/ 
1.2 ทฤษฏีทีÉเกีÉยวข้อง 
1.2.1 เว็บแอปพลิเคชัน 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ[1] หรือเรียกโดยทับศัพท์ว่า 
เว็บแอปพลิเคชัน (อังกฤษ: web application) คือ 
โปรแกรมประยุกต์ทีÉเข้าถึงด้วยโปรแกรมค้นดูเว็บผ่าน 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต
เว็บแอปพลิเคชันเป็นทีÉนิยมเนืÉองจากความสามารถในการอัป 
เดต และดูแล โดยไม่ต้องแจกจ่าย และติดตัÊงซอฟต์แวร์บน 
เครืÉองผู้ใช้ ตัวอย่างเว็บแอปพลิเคชันได้แก่ เว็บเมล การ 
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การประมูลออนไลน์กระดานสนทนา 
บล็อก วิกิ เป็นต้น 
1.2.2 เว็บเซอร์วิส 
เว็บเซอร์วิส[2] เป็นระบบซอฟต์แวร์ทีÉออกแบบมาเพืÉอ 
สนับสนุนการแล กเป ลีÉยนข้อมูลกันร ะหว่างเครืÉอง 
คอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่าย โดยทีÉเว็บเซอร์วิสจะแบ่ง 
ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 
1. REST (REpresentational State 
Transfer) 
การร้องขอข้อมูลจากระบบหนึÉงไปยังอีกระบบหนึÉงใช้ 
โปรโตคอล HTTP เท่านัÊน โดยทÉีรูปแบบของข้อมูลอาจจะ 
เป็นเอกซ์เอ็มแอลหรือเจซัน (JSON) 
2. SOAP (Simple Object Access Protocol) 
มีรูปแบบหลักการทÉีชัดเจนการร้องขอจากระบบหนึÉงไปยัง 
ระบบหนึÉงโดยใช้รูปแบบของข้อมูลทÉีส่งระหว่างระบบ 
จะต้องอยใู่นรูปแบบ SOAP เท่านัÊนแต่โปรโตคอลทÉีใช้ใน 
การส่งอาจจะเป็น HTTP หรือ SMTP หรือ FTP 
1.2.3 โซเชียลมีเดีย (Social Media) 
Social Media[3] หมายถึงสังคมออนไลน์ทีÉมีผู้ใช้ 
เป็นผู้สÉือสาร หรือเขียนเล่า เนืÊอหา เรÉืองราว ประสบการณ์ 
บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ทÉีผู้ใช้เขียนขึÊนเอง ทำขึÊนเอง 
หรือพบเจอจากสÉืออÉืนๆ แล้วนำมาแบ่งปันให้กับผู้อÉืนทÉีอยใู่น 
เครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ทีÉ 
ให้บริการบนโลกออนไลน์ ซึÉงสามารถสรุปการใช้งานได้ดัง 
รูปทีÉ 2 ทีÉทำการแบ่งการใช้งานโซเชียลมีเดียออกเป็น (1) 
การเน้นเนืÊอหา เช่น Digg โซเชียลมีเดียทÉีแสดงเรÉืองราวทÉี 
คนในโลกอินเทอร์เน็ตกำลังสนใจ (2) การสร้างเนืÊอหา เช่น 
การเขียนบล็อก (3) การมีปฏิสัมพันธ์ และ การตอบรับ เช่น 
Facebook เป็นต้น 
รูปทีÉ 2 การใช้งานโซเชียลมีเดียแบบต่างๆ 
2. การออกแบบและพัฒนาระบบ 
ในการออกแบบระบบจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วนดังนีÊ 
2.1 หน้าเว็บไซต์ 
เป็นส่วนทÉีให้บุคคลทัวÉไปใช้งาน หรือเป็นหน้า 
เว็บไซต์ทีÉให้ผู้เข้าชมเว็บสืบค้นหาข้อมูล ข่าวประชา 
สัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ เป็นต้น ระบบทีÉพัฒนามีหน้า 
เว็บไซต์อยู่ทีÉ http://www.kku.ac.th ส่วนประกอบของ 
หน้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แสดงไว้ในรูปทÉี 3 
รูปทีÉ 3 หน้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
หมายเลข 1 ส่วนเปลีÉยนภาษาของเว็บไซต์ เป็นการเปลีÉยน 
ภาษาสำหรับการเข้าชมเว็บไซต์ซึÉงจะมี 2 ภาษาคือ 
ภาษาอังกฤษและภาษาไทย 
หมายเลข 2 ส่วนเมนูหลัก เป็นเมนูสำหรับเลือกดูข้อมูล 
ต่างๆเกีÉยวกับมหาวิทยาลัยเช่น เมนูเกีÉยวกับมหาวิทยาลัย 
เมนูการรับนักศึกษาเข้าเรียนต่อ การวิจัยต่างๆ เป็นต้น
หมายเลข 3 ส่วนภาพสไลด์ เป็นการแสดงถึงภาพลักษณ์ 
รางวัลความภาคภูมิใจต่างๆของมหาวิทยาลัย 
หมายเลข 4 ส่วนของข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นข่าว 
ป ร ะ ช า สัม พัน ธ์ต่า งๆ ข อ ง ม ห า วิท ย า ลัย โ ด ย ก า ร 
ประชา สัมพันธ์จะมาจากคณะและหน่วยงานต่าง ๆ 
หมายเลข 5 ส่วนของวิดีโอ เป็นวิดีโอต่างๆทีÉเกีÉยวข้องกับ 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
หมายเลข 6 ส่วนการค้นหาข้อมูล สามารถทำการข้อมูล 
ต่างๆในเว็บไซต์หรือทำการค้นหาข้อมูลชืÉอของบุคลากร 
ภายในมหาวิทยาลัยได้ 
หมายเลข 7 สายตรงอธิการบดี เป็นส่วนสำหรับร้องเรียน 
หรือแนะนำแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่นผ่าน 
อธิการบดีโดยตรง 
หมายเลข 8 คณะและหน่วยงาน เป็นส่วนข้อมูลต่างๆ 
สำหรับคณะหรือหน่วยงาน 
หมายเลข 9 นักศึกษาและบุคลากร เป็นส่วนบริการต่างๆ 
ของนักศึกษาหรือบุคลากร 
หมา ยเ ลข 10 ปฎิทินกิจก รร ม เป็นส่วนสำ หรับ 
ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆภายในมหาวิทยาลัย 
2.2 ส่วนจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 
เป็นระบบทÉีใช้ในการจัดการเนืÊอหาบนหน้าเว็บไซต์ 
และเฟซบุ๊กกลุ่มต่างๆ ทำให้สามารถทำการเปลีÉยนแปลงบน 
เว็บได้ด้วยตนเองอย่างง่าย ไม่ว่าจะเป็นเนืÊอหาข่าว 
ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ รูปภาพ เป็นต้น โดยจะมีการ 
กำหนดสิทธิÍให้กับผู้ใช้งานด้วยกัน 3 ระดับคือ 
1. ผู้ดูแลระบบ (Admin) สามารถจัดการระบบได้ทัÊงหมด 
เช่น การเพิÉมผู้ใช้งาน การกำหนดสิทธิÍให้กับผู้ใช้งาน เป็นต้น 
2. บรรณาธิการข่าว (Editor) สามารถจัดการเนืÊอหาข่าวได้ 
ทุกส่วน แต่ไม่สามารถจัดการข้อมูลผู้ใช้ระบบ มีสิทธิÍเข้าถึง 
- เมนูข่าวประชาสัมพันธ์ ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน 
- เมนูกิจกรรม ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน 
- เมนูข่าวหนังสือพิมพ์ ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน 
- เมนูวารข่าว ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน 
3. Postor สามารถจัดการเนืÊอหาได้บางส่วน คือ 
- เมนูข่าวประชาสัมพันธ์ เฉพาะของตัวเอง 
- เมนูกิจกรรม เฉพาะของตัวเอง 
- เมนูข่าวหนังสือพิมพ์ เฉพาะของตัวเอง 
- เมนูวารข่าว เฉพาะของตัวเอง 
ส่วนประกอบของระบบการจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ดัง 
แสดงในรูปทีÉ 4 
รูปทีÉ 4 รูปแสดงระบบจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 
หมายเลข 1 เมนหูลักสำหรับจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ ซึÉง 
ประกอบไปด้วย 
- News เป็นระบบการประชาสัมพันธ์ 
- News Paper เป็นระบบการจัดการข่าวหนังสือพิมพ์ทีÉ 
เกÉียวข้องกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น 
- Activity เป็นระบบการจัดการประชาสัมพันธ์กิจกรรม 
ต่างๆของมหาวิทยาลัย 
- Images เป็นระบบการจัดการรูปภาพต่างๆบนเว็บไซต์ 
- Gallery เป็นระบบการจัดการรูปภาพกิจกรรมต่างๆ 
- Video เป็นระบบการจัดการวิดีโอ 
- Academics เป็นระบบการจัดการข้อมูลเนืÊอหา 
- Gateway เป็นระบบการจัดการข้อมูลเนืÊอหา 
- Create Page เป็นระบบการจัดการสร้างหน้าเนืÊอหาของ 
หน้าเว็บไซต์ 
- Maps เป็นระบบการจัดการแผนทÉีของมหาวิทยาลัยโดย 
ใช้ Google Maps API 
- Users เป็นระบบการจัดการผู้ใช้งาน เช่น เพิÉมผู้ใช้งาน 
กำหนดสิทธิÍการใช้งาน แก้ไข ลบ 
- Admin logs เป็นระบบสำหรับเก็บบันทึก การใช้งาน 
ของผู้ใช้งานเพÉือตรวจสอบความผิดพลาดของระบบ
- Statistics เป็นระบบแสดงสถิติจำ นวนของข่าว 
ประชาสัมพันธ์ กิจกรรม ของผู้ใช้งาน 
หมายเลข 2 เป็นส่วนสำหรับค้นหาข้อมูลต่างๆของแต่ละ 
ระบบ 
หมายเลข 3 เป็นปุ่มเพิÉมข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ 
หมายเลข 4 เป็นปุ่มลัดสำหรับเลือกประเภทของข่าวเช่น 
ข่าวเด่น ข่าวทัวÉไป เป็นต้น 
หมายเ ลข 5 เป็นปุ่มสำ หรับ เลือกภาษาข องข่าว 
ประชาสัมพันธ์ 
หมายเลข 6 เป็นปุ่มสำหรับดูข่าวบนหน้าเว็บไซต์ 
หมายเลข 7 เป็นปุ่มแสดงสถานะการเผยแพร่ของข่าว 
ประชาสัมพันธ์ 
หมายเลข 8 เป็นปุ่มจัดการข่าวประชาสัมพันธ์ เช่น แก้ไข 
และลบข่าว เป็นต้น 
2.2.1 การโพสต์ข่าวเผยแพร่ไปยังเว็บไซต์ 
เมÉือผู้ใช้ระบบต้องการจะโพสต์ข่าวจะคลิกปุ่ม + 
(หมายเลข 3 ในรูปทÉี 4) จากนÊันระบบจะแสดงหน้าต่างการ 
เพิÉมหัวข้อข่าว รายละเอียดของข่าวให้ผู้ใช้ระบบ ดังแสดงใน 
รูปทÉี 5ซึÉงหลังจากผู้ใช้พิมพ์หัวข้อข่าว ประเภทข่าว เนืÊอหา 
ข่าว และคลิกช่อง เผยแพร่ ข่าวจะปรากฎทีÉหน้าเว็บไซต์ 
ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยอัตโนมัติดังแสดงในรูปทÉี 6 
รูปทีÉ 5 การเขียนข่าวทีÉระบบจัดการประชาสัมพันธ์ 
รูปทีÉ 6 ข่าวปรากฎทีÉเว็บไซต์โดยการอัปเดตทีÉระบบจัด 
การข้อมูลประชาสัมพันธ์ 
2.2.2 การโพสต์ข่าวเผยแพร่ไปยังโซเชียลมีเดีย 
ระบบประชาสัมพันธ์แบบบูรณาการนีÊได้รวมการ 
พัฒนาเฟซบุ๊กแอปพลิเคชันเพืÉอเผยแพร่ข่าวผ่านเฟซบุ๊ก 
แต่ในอนาคตมีแผนจะพัฒนาเชืÉอมต่อกับทวิตเตอร์และ กู 
เกิลพลัส เมืÉอนักประชาสัมพันธ์ต้องการเผยแพร่ข่าวสาร 
โดยต้องการให้เผยแพร่ไปยังหน้าเว็บและโซเชียลมีเดีย 
ด้วย ก็สา มารถทำ การ เลือกเผยแพร่ไปยังกลุ่มหรือ 
หน้าต่างๆได้โดยเมืÉอเขียนข่าวใหม่ ให้คลิกเลือก “เผยแพร่ 
ไปยัง Facebook”ดังแสดงด้วยหมายเลข 1 ในรูปทีÉ 7 ซึÉง 
หลังจากคลิกเลือกหมายเลข 1 แล้ว ระบบจะแสดงเฟซบุ๊ก 
เพจและเฟซบุ๊กกลุ่มต่างๆ ทีÉผู้ใช้ระบบเป็นสมาชิกโดย 
อัตโนมัติ 
รูปทÉี 7 ส่วนระบบโพสต์ข่าวไปยังเฟสบุ๊ค 
หมายเลข 1 ปุ่มเลือกสำหรับต้องการเผยแพร่ข่าวไปยัง 
โซเชียลมีเดีย 
หมายเลข 2 ผู้ทีÉเผยแพร่ข่าว 
หมายเลข 3 ค้นหากลุ่ม บุคคล หรือหน้าเพิÉมเติม 
นอกเหนือจากทีÉระบบกำหนดไว้ให้
หมายเลข 4 กลุ่ม หน้า หรือบุคคลทีÉระบบ 
ทำการกำหนดไว้ให้ 
หลังจากทีÉผู้ใช้ระบบคลิกเผยแพร่ไปยังโซเชียลมีเดีย 
จากระบบจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ ข่าวจะปรากฎทีÉเฟ 
ซบุ๊กโดยอัตโนมัติดดังแสดงในรูปทีÉ 8 
รูปทีÉ 8 ข่าวปรากฎทีÉเฟซบุ๊กโดยการอัปเดตทีÉระบบจัด 
การข้อมูลประชาสัมพันธ์ 
2.3 การออกแบบและพัฒนาเว็บเซอร์วิส 
สำหรับเว็บเซอร์วิสจะมีการให้บริการสองลักษณะคือ 
การให้บริการเฉพาะให้ดึงข้อมูลได้เท่านัÊนและการ 
ให้บริการทัÊงดึงข้อมูลและแก้ไขปรับปรุงข้อมูลโดยการ 
ให้บริการในรูปแบบของการให้บริเฉพาะดึงข้อมูลจะใช้ 
ให้บริการแก่กลุ่มของไคลเอนต์ทีÉต้องการนำข้อมูลไปเพืÉอ 
แสดงเท่านัÊนเช่น เว็บไซต์ต่างๆ ทีÉต้องการข้อมูลข่าวไป 
เพืÉอแสดงแสดงบนหน้าเว็บไซต์ แอปพลิเคชันบน 
โทรศัพท์มือถือหรือแอปพลิเคชันบน เฟซบุ๊กต่างๆ ทีÉ 
ต้องการเฉพาะนำ ข้อมูลไปเพืÉอแสดงเท่านัÊน และอีก 
รูปแบบหนึÉงของการให้บริการคือแบบทัÊงข้อมูลและแก้ไข 
ปรับปรุงข้อมูลการบริการในรูปแบบนีÊจะให้บริการแก่ 
กลุ่มไคลเอนทีÉต้องการแก้ไขและเพิÉมเติมข้อมูลลงใน 
ระบบเช่น เว็บทีÉใช้จัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ (web 
portal) ซึÉงต้องมีทัÊงการดึงข่าวมาแสดง และการเพิÉมข่าว 
ลบข่าว แก้ไขข่าวเป็นต้น 
ปัจจุบันระบบเว็บเซอร์วิสมีการใช้บริการข้อมูลในหมวดหมู่ 
ต่างๆจำนวน 8 หมวดหมดูั่งนีÊ 
1. ข้อมูลเกÉียวกับมหาวิทยาลัย 
2. ข้อมูลทางด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย 
3. ข้อมูลกิจกรรมต่างๆของมหาวิทยาลัย 
4. ข้อมูลเพลงประจำมหาวิทยาลัย 
5. ข้อมูลรูปภาพในด้านต่างๆของมหาวิทยาลัย 
6. ข้อมูลข่าวต่างๆของมหาวิทยาลัย 
7. ข้อมูลวีดีโอต่างๆของมหาวิทยาลัย 
8. ข้อมูลสถานทีÉต่างๆภายในมหาวิทยาลัย 
ในแต่ละหมวดของข้อมูลได้มีการให้บริการในทัÊงสอง 
แบบดังทÉีได้กล่าวไปแล้ว โดยรายละเอียดเฉพาะ การให้ 
บริการดึงข้อมูลในหมวดหมู่ทÉีสำคัญทÉีรายละเอียดดังนีÊ 
1. ข้อมูลเกีÉยวกับมหาวิทยาลัย 
Abouts KKU Services เป็นฟังก์ชันทีÉให้บริการ 
ข้อมูลเกีÉยวกับมหาวิทยาลัยขอนแก่นในด้านต่างๆเช่น 
ข้อมูลประวัติมหาวิทยาลัย, รายละเอียดการรับเข้าศึกษา, 
รายละเอียดเกีÉยวกับการศึกษา, การทำวิจัย และการ 
ดำรงชีวิตใน มหาวิทยาลัยซึÉงจะให้บริการในรูปแบ บ 
ข้อ มูล แ บ บ เ จ ซัน ( JSON)ซึÉง มีฟัง ก์ชัน ห ลัก ดัง นีÊ 
AboutKKU เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูลทัÉวไป 
ของมหาวิทยาลัย 
About Admission เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล 
ด้านการรับเข้าศึกษาของมหาวิทยาลัย 
About Education เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล 
ด้านการศึกษาของมหาวิทยาลัย 
About Research เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล 
ด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัย 
About Life KKU เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล 
เกÉียวกับการดำรงชีวิตภายในมหาวิทยาลัย 
ตัวอย่างข้อมูลทÉีให้บริการข้อมูลทัวÉไปของมหาวิทยาลัยได้ 
แสดงไว้ในรูปทÉี 9
รูปทีÉ 9 ตัวอย่างเว็บเซอร์วิส ฟังก์ชัน About KKU 
จากตัวอย่างข้อมูลจะประกอบด้วยหัวข้อต่างๆของ 
ข้อมูลทัÉวไปเช่น “ประวัติความเป็นมา” ซึÉงจะมีรายละเอียด 
ทัÊงภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 
2. ข้อมูลกิจกรรมต่างๆของมหาวิทยาลัย 
ActivityServices เป็นการให้บริการเกีÉยวกับข้อมูล 
กิจกรรมในด้านต่างๆภาย ในมหาวิทยาลัยขอนแก่นอาทิ 
เช่น กิจกรรมทางด้านการศึกษา กิจกรรมทางด้านการวิจัย 
กิจกรรมของนักศึกษา กิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม และ 
กิจกรรมทัÉวไปภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยจะ 
ให้บริการข้อมูลในรูปแบบข้อมูลของเจซัน (JSON)ซึÉงมี 
ฟังก์ชันหลักดังนีÊ 
topActivity เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล 
เกÉียวกับกิจกรรมทÉีจะมีขึÊนรวมทัÊงกิจกรรมทÉีผ่านไปแล้ว 
ภายใน 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
onshowActivity เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล 
เกีÉย วกับ กิจ กร ร มทีÉกิจ กรร มเ ด่นทีÉจะ มีขึÊน ภา ยใ น 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
รูปทีÉ 10 ตัวอย่างข้อมูลทีÉได้จากจาก topActivity 
2.4 โมบายแอปพลิเคชัน 
ในส่วนของโมบายแอปพลิเคชันได้ทำการออกแบบ 
และพัฒนาให้สามารถใช้แอปพลิเคชันได้กับสมาร์ทโฟ 
นทุกแฟลตฟอร์ม เช่น Android iOS และ Windows 
Phone และใช้ API ทีÉได้ออกแบบพัฒนาและพัฒนาขึÊน 
เป็นตัวกลางในการดึงและแลกเปลีÉยนข้อมูล ตัวอย่างการ 
ออกแบบโมบายแอปพลิเคชันมีดังนีÊ 
รูปทีÉ 11 ตัวอย่างหน้าจอโมบายแอปพลิเคชัน 
3. ผลการทดสอบ 
3.1 ข้อมูลทีÉใช้ในการทดสอบ 
ข้อมูลทีÉใช้สำหรับการทดสอบจะเป็นข้อมูลจริงของ 
ระบบเดิมทีมีอยใู่นรูปแบบทÉีเป็นข้อมูล ข้อความและรูปภาพ 
เพืÉอเป็นการหาข้อผิดพลาดของระบบจึงทดสอบด้วยข้อมูล 
จริง และนำไปปรับปรุงพัฒนาแก้ไขต่อไปโดยทÉีระบบได้เริÉม 
ใช้จริงประมาณปลายเดือนกรกฎาคม 2555โดยมีจำนวนข่าว 
ทัÊงหมดทÉีโพสต์ทÉีระบบจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 1250 
ข่าว ดังแสดงในรูปทÉี 12 
รูปทีÉ 12 สถิติของการโพสต์ข่าวต่างๆ 
3.2 กลุ่มทดสอบระบบ 
กลุ่มทดสอบระบบจะมีอยู่ 2 กลุ่มคือกลุ่มผู้พัฒนาระบบ 
และกลุ่มผู้ใช้งานระบบ ในการทดสอบระบบนÊันทางกลุ่ม 
ผู้พัฒนาจะเป็นผู้ทดสอบก่อนเมืÉอระบบสมบูรณ์แล้วจึงให้
กลุ่มผู้ใช้งานระบบจริงทดสอบอีกครัÊง เพÉือหาแนวทาง 
ปรับปรุงแก้ไขร่วมกันและให้แสดงความคิดเห็นเกีÉยวกับ 
ระ บ บ เพืÉอห าแนวท า งป รับ ป รุงแล ะแก้ไข ร่วมกัน 
3.3 หน่วยงานทีÉใช้ระบบประชาสัมพันธ์ 
ปัจจุบันหน่วยงานทÉีเข้าใช้งานระบบประชาสัมพันธ์จะ 
ประกอบไปด้วยหน่วยงานและคณะของมหาวิทยาลัยเกือบ 
ทัÊงหมดของมหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยมียอดผู้ใช้งานทัÊงหมด 
80 บัญชี โดยแบ่งออกเป็น 
ผู้ดูแลระบบ จำนวน 6 คน 
นักประชาสัมพันธ์ 74 คน 
โดยเฉลีÉยสถิติการใช้งานในช่วง เดือน ธันวาคม 2555 
มีข่าวทัÊงหมดเฉลÉีย 7 ข่าว/วัน 
มีสมาชิกเข้าใช้งานทัÊงหมดเฉลÉีย 4 คน/วัน 
มีบุคคลทัวÉไปเข้าชมเว็บไซต์เฉลÉีย 1050 คน/วัน 
3.4 ผลการประเมิน 
ผู้พัฒนาระบบประชาสัมพันธ์แบบบูรณาการได้สร้าง 
แบบฟอร์มเพÉือประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบจัดการ 
ข้อมูลประชาสัมพันธ์โดยฟอร์มอยทู่Éี 
https://docs.google.com/a/kku.ac.th/spreadsheet/vi 
ewform?formkey=dDJVelRmM0ZvS3VVNHVX 
MGc2bU93WHc6MQ ดังแสดงในรูปทีÉ 13 
รูปทีÉ 12 แบบฟอร์มประเมินความพึงพอใจของระบบ 
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ 
ประชาสัมพันธ์พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจในภาพรวมต่อ 
ประเด็นของการใช้งานในส่วนต่างๆ ดังนีÊ 
3.4.1 ระบบโดยรวม 
ในการประเมินผลระบบโดยรวมประกอบไปด้วย 
คำถามต่างๆ ต่อไปนีÊ 
1) ความง่ายต่อการใช้งานของระบบ 
ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 
2) ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลแต่ละเมนู 
ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 
3) ความเหมาะสมในการใช้สีของตัวอักษรและรูปภาพ 
ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 
4) ความเหมาะสมในการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ 
ผลการประเมินได้ในระดับ 3.56/5 
3.4.2 ระบบข่าว 
ในการประเมินผลระบบข่าวประกอบไปด้วยคำถาม 
ต่างๆ ต่อไปนีÊ 
1) ความพึงพอใจในการใช้งานระบบข่าว 
ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 
2) ความพึงพอใจในการใช้งานระบบโพสต์ข่าวไปเฟซบุ๊ก 
ผลการประเมินได้ในระดับ 3.89/5 
3) ความพึงพอใจในการค้นหาข้อมูลจากคำค้นของระบบ 
ข่าวผลการประเมินได้ในระดับ 3.79/5 
3.4.3 ระบบกิจกรรม 
ในการประเมินผลระบบกิจกรรมประกอบไปด้วย 
คำถามต่างๆ ต่อไปนีÊ 
1) ความพึงพอใจในการใช้งานระบบกิจกรรม 
ผลการประเมินได้ในระดับ 4.00/5 
2) ความพึงพอใจในการค้นหาข้อมูลจากคำค้น 
ของกิจกรรม ผลการประเมินได้ในระดับ 3.89/5 
4. บทสรุปและข้อเสนอแนะ 
จา ก กา ร พัฒ นา ร ะบ บ ป ร ะชา สัมพัน ธ์ผ่า นสืÉอ 
อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการพบว่าผู้ใช้งานมีความ 
สะดวกสบายมากขึÊน ในเรืÉองของการประชาสัมพันธ์ข่าว 
ไปยังสืÉอต่างๆบนโซเชียลมีเดีย มีผู้เข้าชมและเปิดอ่าน 
ข่าวสารมากขึÊน ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้งาน 
ระบบอยู่ในระดับดี
อย่างไรก็ตามระบบทÉีพัฒนาขึÊนยังมีส่วนทÉีจะต้องปรับปรุง 
และพัฒนาต่อเพืÉอให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานมาก 
ยิÉงขึÊน โดยข้อเสนอแนะการพัฒนาระบบมีดังนีÊ 
1) ในส่วนของระบบโซเชียลมีเดียนอกจากจะสามารถ 
โพสต์ไปยังเฟซบุ๊กได้ ควรพัฒนาให้สามารถโพสต์ไปยัง 
โซเซียลมีเดียอืÉนๆได้เช่น ทวิตเตอร์ กูเกิลพลัส เป็นต้น 
2) ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (UI) ในระบบจัดการเว็บไซต์ควร 
ปรับปรุงให้อยู่ในรูปแบบเดียวกัน เช่นระบบข่าวกับระบบ 
กิจกรรม ส่วนติดต่อผู้ใช้งานยังไม่เป็นรูปแบบเดียวกับซึÉง 
อาจจะทำให้ผู้ใช้งานสับสนได้ 
5. เอกสารอ้างอิง 
[1] “โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ.” [online], 
Available: http://th.wikipedia.org/wiki/โปรแกรม 
ประยุกต์บนเว็บ[Accessed 04 December 2012 ] 
[2] “เว็บเซอร์วิส เว็บเซอร์วิสคืออะไร ความหมายเว็บ 
เซอร์วิส” [online], 
Available:http://www.gotoknow.org/blogs/post 
s/471679 [ Accessed 04 December 2012 ] 
[3] “Social Media มันคืออะไร” [online], 
Available: 
http://www.marketingoops.com/digital/social-media/ 
what-is-social-media/ [ Accessed 04 
December 2012 ] 
[4] “Login with facebook and twiiter” [online], 
Availablehttp://www.9lessons.info/2011/02/log 
in-with-facebook-and-twitter.html 
[5] “facebook api” [online], 
Availablehttp://www.developer.facebook.com

More Related Content

What's hot

รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้นPimsiri Dum
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Montita Kongmuang
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันKittipong Kansamroeng
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำTheeraWat JanWan
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำShe's Mammai
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1M'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องRung Sensabe
 

What's hot (17)

รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
1บทนำคอม11
1บทนำคอม111บทนำคอม11
1บทนำคอม11
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2
22
2
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Similar to 10

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Arrat Krupeach
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 

Similar to 10 (20)

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2 2
2 22 2
2 2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 

More from A'anniiz Nuttida (10)

9
99
9
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
1
11
1
 

10

  • 1. ระบบประชาสัมพันธ์ผ่านสืÉออิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ Integrated Electronic Public Relations System กิตติพันธ์ ศรศักดา1ณรงค์ อินธรักษ์2กานดา สายแก้ว3พัชราภรณ์ จิรานุวัฒนวงษ์4ชาญณรงค์ จันทร์พานิชย์5 ศรีชัย เหล่าพงษ์เจริญ6ชุมพร พารา7 ฤทธิชัย นามนนท์8มงคล เต็งรุ่งโรจน์9อนัตต์ เจ่าสกุล10 1,3,4,5,6,9,10ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 2,3,10ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 7,8กองสÉือสารองค์กร สำนักอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น 40002 E-mail : ksorn@kku.ac.th Abstract Nowadays more people access information via social network or mobile applications. Thus it is important for an organization to get their information exposed not only through their web sites but also through social network apps or mobile apps. We propose a web service or web API (Application Programming Interface) for university public relations such that this service can be easily invocated by client apps, such as social network apps or mobile apps. The web service consists of the main functions to give information about a university such as getting pictures, audio, videos, events, and places. Besides the web services, we also developed the web portal that allows users to easily and conveniently publish news, events, newsletters, and FAQs (Frequently Asked Questions). This web information management solves the problem of copying and pasting data multiple times. The web portal users can select whether they would like to publish news via web site, any Facebook groups, or any Facebook pages. The web portal evaluation shows that the users have satisfied with the web portal in the level 4 out of 5. What we need to improve is to make user interface easier to use and understand. Neverthelss, to the best of our interest, we believe that our paper is the first that proposed and developed the systemthat use Web API to effectively spread news and information via web sites, social media, mobile apps, and other potential apps in future. Keyword: Web API, Web service, Facebook API post to group บทคัดย่อ ในปัจจุบันผู้คนมักเข้าถึงข้อมูลผู้อืÉนผ่านทางเครือข่าย สังคมหรือโมบายแอปพลิเคชัน จึงเป็นสิÉงสำคัญสำหรับ องค์กรทีÉจะได้รับข้อมูลของพวกเขาสัมผัสไม่เฉพาะผ่าน เว็บไซต์ของพวกเขาเท่านÊัน แต่ควรได้รับข้อมูลผ่าน เครือข่ายทางสังคมและโมบายแอปพลิเคชัน บทความนีÊ นำเสนอบริการเว็บเซอร์วิสหรือเว็บเอพีไอเพืÉอการ ประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัย การบริการดังกล่าวสามารถ ถูกเรียกได้อย่างง่ายดายโดยแอปเครือข่ายทางสังคมและ โมบายแอปพลิเคชัน เว็บเซอร์วิสประกอบไปด้วยฟังก์ชัน หลักทีÉจะให้ข้อมูลเกีÉยวกับมหาวิทยาลัยเช่น การให้บริการ ข้อมูลภาพ, เสียง, วิดีโอ, เหตุการณ์และสถานทีÉ นอกจาก เว็บเซอร์วิส พวกเราได้พัฒนาเว็บจัดการการเผยแพร่ ข้อมูลซึÉงทำให้ผู้ใช้สามารถเผยแพร่ข่าว กิจกรรม วารสาร ข่าว และคำถามทีÉมักพบบ่อยได้ง่ายและสะกวด เว็บ จัดการข้อมูลนีÊช่วยแก้ปัญหาทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องคัดลอกและ วางข้อมูลหลายครัÊง ผู้ใช้เว็บจัดการนีÊสามารถเลือกทีÉจะ เผยแพร่ข่าวผ่านเว็บไซต์ กลุ่มเฟซบุ๊ก และเฟซบุ๊กเพจทีÉ ผู้ใช้ต้องการ ผลการประเมินผู้ใช้เว็บจัดการข้อมูลพบว่า ได้ระดับความพึงพอใจโดยเฉลีÉยประมาณ4จาก 5 ส่วนทีÉ ต้องพัฒนาคือส่วนประสานติดต่อกับผู้ใช้ให้เข้าใจมากขึÊน และใช้งานได้ง่ายมากขึÊนอย่างไรก็ตาม เราเชืÉอว่าบทความ ทÉีนำเสนอนีÊเป็นบทความแรกทÉีนำเสนอการใช้เว็บเซอร์วิส เพืÉอช่วยในการเผยแพร่ข้อมูลและข่าวอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 2. ทางเว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย โมบายแอปพลิเคชัน และแอป อืÉนๆ ทีÉอาจจะพัฒนาในอนาคต 1. บทนำ 1.1 ความเป็นมา ปัจจุบันไม่ว่าองค์กรใดจำเป็นจะต้องการสืÉอสาร องค์กรทÉีมีประสิทธิภาพ ทัÊงการสÉือสารภายในองค์กรและ การสืÉอสารไปยังกลุ่มเป้าหมายภายนอกเพืÉอให้เกิดความ เข้าใจ ความร่วมมือ การประสานงานทีÉดี และเกิดการรับรู้ ถึงภาพลักษณ์ทีÉดีขององค์กร ในศตวรรษทีÉ 21 เป็นยุคของข้อมูลข่าวสารทีÉมนุษย์ สามารถรับรู้ เรียนรู้ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ได้ อย่างรวดเร็วผ่านโซเชียลมีเดียและอุปกรณ์โมบาย องค์กร ต่าง ๆ จึงต้องมีระบบประชาสัมพันธ์ทีÉทันสมัยและมี ประสิทธิภาพเพืÉอเพิÉมขีดความสามารถในการบริหาร จัดการองค์กรให้สามารถดำเนินต่อไปได้และเกิดความ ได้เปรียบในการแข่งขันเพืÉอความเป็นผู้นำ ทีÉก้าวนำ การรู้เท่ากันการเปลีÉยนแปลงและสามารถปรับตัวให้ สามารถก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมันÉคงจึงเป็นสิÉงจำเป็น อย่างยิÉงซึÉงเครÉืองมือในการสÉือสารทÉีมีประสิทธิภาพในการ รับรู้ข้อมูลข่าวสารในยุคนีÊคือการสืÉอสารผ่านเครือข่าย เ ท ค โ น โ ล ยีส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ สืÉอ อิเ ล็ก ท ร อ นิค ส์ เนÉืองจากยุคนีÊเป็นยุคเว็บ 2.0 และสÉือสังคม ผู้คน มักจะใช้เวลาส่วนใหญ่ ในการออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต กับเว็บเครือข่ายสังคม เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook), กู เกิลพลัส (Google Plus), ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นต้น อีกทัÊงการสืÉอสารทีÉรวดเร็วและกำลังได้รับความนิยมอีก ช่องทางหนึÉงคือ การใช้งานสÉือออนไลน์ผ่านมือถือสมาร์ท โฟนและแท็บเล็ต ดังนัÊนบทความนีÊจึงได้นำเสนอระบบประชาสัมพันธ์แบบ บูรณาการให้เข้ากับการเปลÉียนแปลงนีÊด้วยการพัฒนา ระบบการประชาสัมพันธ์เพืÉอรองรับผู้ใช้งานผ่านช่องทาง หลักๆทัÊง 3 ช่องทางคือ 1. เว็บไซต์ 2. โซเชียลมีเดีย (Social Media) 3. อุปกรณ์โมบาย ด้วยเ ห ตุผ ล ดัง ก ล่า วข้า ง ต้น จึง ต้อง พัฒ น า ระ บ บ ประชาสัมพันธ์ผ่านสืÉออิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการและ มีประสิทธิภาพ โดยมีการใช้เว็บเซอร์วิสดังรูปทีÉ 1 เพืÉอ เป็นตัวกลางคอยรับส่งข้อมูลระหว่างส่วนอÉืนๆ ซึÉง ประกอบไปด้วย 1. ฐานข้อมูล (Database)ทีÉเป็น MySQLใช้เก็บข้อมูล ข่าวสารต่างๆ 2. เว็บกลางเพืÉอใช้ในการจัดการข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ (Web Portal) ซึÉงจะเผยแพร่ข่าวทÉีเว็บไซต์และเฟซบุ๊ก เพจและกลุ่มต่างๆ 3. เว็บไซต์ขององค์กร (KKU Website) เว็บทีÉแสดง ข่าวสารของมหาวิทยาลัย ขอนแก่น 4. โมบายเว็บไซต์ (Mobile Website) เว็บไซต์ทีÉ ปรับแต่งมาให้เหมาะสมทีÉใช้งานบนอุปกรณ์เคลืÉอนทีÉ ต่างๆ เช่น สมาร์ทโฟน รูปทีÉ 1 ภาพรวมการทำงานของระบบ บทความนีÊนำเสนอระบบประชาสัมพันธ์ทีÉได้พัฒนา และนำไปใช้งานในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยทีÉมีเว็บ เซอร์วิสทีÉ http://www.kku.ac.th/ikku/api/ 1.2 ทฤษฏีทีÉเกีÉยวข้อง 1.2.1 เว็บแอปพลิเคชัน โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ[1] หรือเรียกโดยทับศัพท์ว่า เว็บแอปพลิเคชัน (อังกฤษ: web application) คือ โปรแกรมประยุกต์ทีÉเข้าถึงด้วยโปรแกรมค้นดูเว็บผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต
  • 3. เว็บแอปพลิเคชันเป็นทีÉนิยมเนืÉองจากความสามารถในการอัป เดต และดูแล โดยไม่ต้องแจกจ่าย และติดตัÊงซอฟต์แวร์บน เครืÉองผู้ใช้ ตัวอย่างเว็บแอปพลิเคชันได้แก่ เว็บเมล การ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การประมูลออนไลน์กระดานสนทนา บล็อก วิกิ เป็นต้น 1.2.2 เว็บเซอร์วิส เว็บเซอร์วิส[2] เป็นระบบซอฟต์แวร์ทีÉออกแบบมาเพืÉอ สนับสนุนการแล กเป ลีÉยนข้อมูลกันร ะหว่างเครืÉอง คอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่าย โดยทีÉเว็บเซอร์วิสจะแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. REST (REpresentational State Transfer) การร้องขอข้อมูลจากระบบหนึÉงไปยังอีกระบบหนึÉงใช้ โปรโตคอล HTTP เท่านัÊน โดยทÉีรูปแบบของข้อมูลอาจจะ เป็นเอกซ์เอ็มแอลหรือเจซัน (JSON) 2. SOAP (Simple Object Access Protocol) มีรูปแบบหลักการทÉีชัดเจนการร้องขอจากระบบหนึÉงไปยัง ระบบหนึÉงโดยใช้รูปแบบของข้อมูลทÉีส่งระหว่างระบบ จะต้องอยใู่นรูปแบบ SOAP เท่านัÊนแต่โปรโตคอลทÉีใช้ใน การส่งอาจจะเป็น HTTP หรือ SMTP หรือ FTP 1.2.3 โซเชียลมีเดีย (Social Media) Social Media[3] หมายถึงสังคมออนไลน์ทีÉมีผู้ใช้ เป็นผู้สÉือสาร หรือเขียนเล่า เนืÊอหา เรÉืองราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ทÉีผู้ใช้เขียนขึÊนเอง ทำขึÊนเอง หรือพบเจอจากสÉืออÉืนๆ แล้วนำมาแบ่งปันให้กับผู้อÉืนทÉีอยใู่น เครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ทีÉ ให้บริการบนโลกออนไลน์ ซึÉงสามารถสรุปการใช้งานได้ดัง รูปทีÉ 2 ทีÉทำการแบ่งการใช้งานโซเชียลมีเดียออกเป็น (1) การเน้นเนืÊอหา เช่น Digg โซเชียลมีเดียทÉีแสดงเรÉืองราวทÉี คนในโลกอินเทอร์เน็ตกำลังสนใจ (2) การสร้างเนืÊอหา เช่น การเขียนบล็อก (3) การมีปฏิสัมพันธ์ และ การตอบรับ เช่น Facebook เป็นต้น รูปทีÉ 2 การใช้งานโซเชียลมีเดียแบบต่างๆ 2. การออกแบบและพัฒนาระบบ ในการออกแบบระบบจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วนดังนีÊ 2.1 หน้าเว็บไซต์ เป็นส่วนทÉีให้บุคคลทัวÉไปใช้งาน หรือเป็นหน้า เว็บไซต์ทีÉให้ผู้เข้าชมเว็บสืบค้นหาข้อมูล ข่าวประชา สัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ เป็นต้น ระบบทีÉพัฒนามีหน้า เว็บไซต์อยู่ทีÉ http://www.kku.ac.th ส่วนประกอบของ หน้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แสดงไว้ในรูปทÉี 3 รูปทีÉ 3 หน้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมายเลข 1 ส่วนเปลีÉยนภาษาของเว็บไซต์ เป็นการเปลีÉยน ภาษาสำหรับการเข้าชมเว็บไซต์ซึÉงจะมี 2 ภาษาคือ ภาษาอังกฤษและภาษาไทย หมายเลข 2 ส่วนเมนูหลัก เป็นเมนูสำหรับเลือกดูข้อมูล ต่างๆเกีÉยวกับมหาวิทยาลัยเช่น เมนูเกีÉยวกับมหาวิทยาลัย เมนูการรับนักศึกษาเข้าเรียนต่อ การวิจัยต่างๆ เป็นต้น
  • 4. หมายเลข 3 ส่วนภาพสไลด์ เป็นการแสดงถึงภาพลักษณ์ รางวัลความภาคภูมิใจต่างๆของมหาวิทยาลัย หมายเลข 4 ส่วนของข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นข่าว ป ร ะ ช า สัม พัน ธ์ต่า งๆ ข อ ง ม ห า วิท ย า ลัย โ ด ย ก า ร ประชา สัมพันธ์จะมาจากคณะและหน่วยงานต่าง ๆ หมายเลข 5 ส่วนของวิดีโอ เป็นวิดีโอต่างๆทีÉเกีÉยวข้องกับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมายเลข 6 ส่วนการค้นหาข้อมูล สามารถทำการข้อมูล ต่างๆในเว็บไซต์หรือทำการค้นหาข้อมูลชืÉอของบุคลากร ภายในมหาวิทยาลัยได้ หมายเลข 7 สายตรงอธิการบดี เป็นส่วนสำหรับร้องเรียน หรือแนะนำแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่นผ่าน อธิการบดีโดยตรง หมายเลข 8 คณะและหน่วยงาน เป็นส่วนข้อมูลต่างๆ สำหรับคณะหรือหน่วยงาน หมายเลข 9 นักศึกษาและบุคลากร เป็นส่วนบริการต่างๆ ของนักศึกษาหรือบุคลากร หมา ยเ ลข 10 ปฎิทินกิจก รร ม เป็นส่วนสำ หรับ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆภายในมหาวิทยาลัย 2.2 ส่วนจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ เป็นระบบทÉีใช้ในการจัดการเนืÊอหาบนหน้าเว็บไซต์ และเฟซบุ๊กกลุ่มต่างๆ ทำให้สามารถทำการเปลีÉยนแปลงบน เว็บได้ด้วยตนเองอย่างง่าย ไม่ว่าจะเป็นเนืÊอหาข่าว ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ รูปภาพ เป็นต้น โดยจะมีการ กำหนดสิทธิÍให้กับผู้ใช้งานด้วยกัน 3 ระดับคือ 1. ผู้ดูแลระบบ (Admin) สามารถจัดการระบบได้ทัÊงหมด เช่น การเพิÉมผู้ใช้งาน การกำหนดสิทธิÍให้กับผู้ใช้งาน เป็นต้น 2. บรรณาธิการข่าว (Editor) สามารถจัดการเนืÊอหาข่าวได้ ทุกส่วน แต่ไม่สามารถจัดการข้อมูลผู้ใช้ระบบ มีสิทธิÍเข้าถึง - เมนูข่าวประชาสัมพันธ์ ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน - เมนูกิจกรรม ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน - เมนูข่าวหนังสือพิมพ์ ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน - เมนูวารข่าว ทัÊงหมดของทุกคณะหน่วยงาน 3. Postor สามารถจัดการเนืÊอหาได้บางส่วน คือ - เมนูข่าวประชาสัมพันธ์ เฉพาะของตัวเอง - เมนูกิจกรรม เฉพาะของตัวเอง - เมนูข่าวหนังสือพิมพ์ เฉพาะของตัวเอง - เมนูวารข่าว เฉพาะของตัวเอง ส่วนประกอบของระบบการจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ดัง แสดงในรูปทีÉ 4 รูปทีÉ 4 รูปแสดงระบบจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ หมายเลข 1 เมนหูลักสำหรับจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ ซึÉง ประกอบไปด้วย - News เป็นระบบการประชาสัมพันธ์ - News Paper เป็นระบบการจัดการข่าวหนังสือพิมพ์ทีÉ เกÉียวข้องกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น - Activity เป็นระบบการจัดการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ต่างๆของมหาวิทยาลัย - Images เป็นระบบการจัดการรูปภาพต่างๆบนเว็บไซต์ - Gallery เป็นระบบการจัดการรูปภาพกิจกรรมต่างๆ - Video เป็นระบบการจัดการวิดีโอ - Academics เป็นระบบการจัดการข้อมูลเนืÊอหา - Gateway เป็นระบบการจัดการข้อมูลเนืÊอหา - Create Page เป็นระบบการจัดการสร้างหน้าเนืÊอหาของ หน้าเว็บไซต์ - Maps เป็นระบบการจัดการแผนทÉีของมหาวิทยาลัยโดย ใช้ Google Maps API - Users เป็นระบบการจัดการผู้ใช้งาน เช่น เพิÉมผู้ใช้งาน กำหนดสิทธิÍการใช้งาน แก้ไข ลบ - Admin logs เป็นระบบสำหรับเก็บบันทึก การใช้งาน ของผู้ใช้งานเพÉือตรวจสอบความผิดพลาดของระบบ
  • 5. - Statistics เป็นระบบแสดงสถิติจำ นวนของข่าว ประชาสัมพันธ์ กิจกรรม ของผู้ใช้งาน หมายเลข 2 เป็นส่วนสำหรับค้นหาข้อมูลต่างๆของแต่ละ ระบบ หมายเลข 3 เป็นปุ่มเพิÉมข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ หมายเลข 4 เป็นปุ่มลัดสำหรับเลือกประเภทของข่าวเช่น ข่าวเด่น ข่าวทัวÉไป เป็นต้น หมายเ ลข 5 เป็นปุ่มสำ หรับ เลือกภาษาข องข่าว ประชาสัมพันธ์ หมายเลข 6 เป็นปุ่มสำหรับดูข่าวบนหน้าเว็บไซต์ หมายเลข 7 เป็นปุ่มแสดงสถานะการเผยแพร่ของข่าว ประชาสัมพันธ์ หมายเลข 8 เป็นปุ่มจัดการข่าวประชาสัมพันธ์ เช่น แก้ไข และลบข่าว เป็นต้น 2.2.1 การโพสต์ข่าวเผยแพร่ไปยังเว็บไซต์ เมÉือผู้ใช้ระบบต้องการจะโพสต์ข่าวจะคลิกปุ่ม + (หมายเลข 3 ในรูปทÉี 4) จากนÊันระบบจะแสดงหน้าต่างการ เพิÉมหัวข้อข่าว รายละเอียดของข่าวให้ผู้ใช้ระบบ ดังแสดงใน รูปทÉี 5ซึÉงหลังจากผู้ใช้พิมพ์หัวข้อข่าว ประเภทข่าว เนืÊอหา ข่าว และคลิกช่อง เผยแพร่ ข่าวจะปรากฎทีÉหน้าเว็บไซต์ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยอัตโนมัติดังแสดงในรูปทÉี 6 รูปทีÉ 5 การเขียนข่าวทีÉระบบจัดการประชาสัมพันธ์ รูปทีÉ 6 ข่าวปรากฎทีÉเว็บไซต์โดยการอัปเดตทีÉระบบจัด การข้อมูลประชาสัมพันธ์ 2.2.2 การโพสต์ข่าวเผยแพร่ไปยังโซเชียลมีเดีย ระบบประชาสัมพันธ์แบบบูรณาการนีÊได้รวมการ พัฒนาเฟซบุ๊กแอปพลิเคชันเพืÉอเผยแพร่ข่าวผ่านเฟซบุ๊ก แต่ในอนาคตมีแผนจะพัฒนาเชืÉอมต่อกับทวิตเตอร์และ กู เกิลพลัส เมืÉอนักประชาสัมพันธ์ต้องการเผยแพร่ข่าวสาร โดยต้องการให้เผยแพร่ไปยังหน้าเว็บและโซเชียลมีเดีย ด้วย ก็สา มารถทำ การ เลือกเผยแพร่ไปยังกลุ่มหรือ หน้าต่างๆได้โดยเมืÉอเขียนข่าวใหม่ ให้คลิกเลือก “เผยแพร่ ไปยัง Facebook”ดังแสดงด้วยหมายเลข 1 ในรูปทีÉ 7 ซึÉง หลังจากคลิกเลือกหมายเลข 1 แล้ว ระบบจะแสดงเฟซบุ๊ก เพจและเฟซบุ๊กกลุ่มต่างๆ ทีÉผู้ใช้ระบบเป็นสมาชิกโดย อัตโนมัติ รูปทÉี 7 ส่วนระบบโพสต์ข่าวไปยังเฟสบุ๊ค หมายเลข 1 ปุ่มเลือกสำหรับต้องการเผยแพร่ข่าวไปยัง โซเชียลมีเดีย หมายเลข 2 ผู้ทีÉเผยแพร่ข่าว หมายเลข 3 ค้นหากลุ่ม บุคคล หรือหน้าเพิÉมเติม นอกเหนือจากทีÉระบบกำหนดไว้ให้
  • 6. หมายเลข 4 กลุ่ม หน้า หรือบุคคลทีÉระบบ ทำการกำหนดไว้ให้ หลังจากทีÉผู้ใช้ระบบคลิกเผยแพร่ไปยังโซเชียลมีเดีย จากระบบจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ ข่าวจะปรากฎทีÉเฟ ซบุ๊กโดยอัตโนมัติดดังแสดงในรูปทีÉ 8 รูปทีÉ 8 ข่าวปรากฎทีÉเฟซบุ๊กโดยการอัปเดตทีÉระบบจัด การข้อมูลประชาสัมพันธ์ 2.3 การออกแบบและพัฒนาเว็บเซอร์วิส สำหรับเว็บเซอร์วิสจะมีการให้บริการสองลักษณะคือ การให้บริการเฉพาะให้ดึงข้อมูลได้เท่านัÊนและการ ให้บริการทัÊงดึงข้อมูลและแก้ไขปรับปรุงข้อมูลโดยการ ให้บริการในรูปแบบของการให้บริเฉพาะดึงข้อมูลจะใช้ ให้บริการแก่กลุ่มของไคลเอนต์ทีÉต้องการนำข้อมูลไปเพืÉอ แสดงเท่านัÊนเช่น เว็บไซต์ต่างๆ ทีÉต้องการข้อมูลข่าวไป เพืÉอแสดงแสดงบนหน้าเว็บไซต์ แอปพลิเคชันบน โทรศัพท์มือถือหรือแอปพลิเคชันบน เฟซบุ๊กต่างๆ ทีÉ ต้องการเฉพาะนำ ข้อมูลไปเพืÉอแสดงเท่านัÊน และอีก รูปแบบหนึÉงของการให้บริการคือแบบทัÊงข้อมูลและแก้ไข ปรับปรุงข้อมูลการบริการในรูปแบบนีÊจะให้บริการแก่ กลุ่มไคลเอนทีÉต้องการแก้ไขและเพิÉมเติมข้อมูลลงใน ระบบเช่น เว็บทีÉใช้จัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ (web portal) ซึÉงต้องมีทัÊงการดึงข่าวมาแสดง และการเพิÉมข่าว ลบข่าว แก้ไขข่าวเป็นต้น ปัจจุบันระบบเว็บเซอร์วิสมีการใช้บริการข้อมูลในหมวดหมู่ ต่างๆจำนวน 8 หมวดหมดูั่งนีÊ 1. ข้อมูลเกÉียวกับมหาวิทยาลัย 2. ข้อมูลทางด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย 3. ข้อมูลกิจกรรมต่างๆของมหาวิทยาลัย 4. ข้อมูลเพลงประจำมหาวิทยาลัย 5. ข้อมูลรูปภาพในด้านต่างๆของมหาวิทยาลัย 6. ข้อมูลข่าวต่างๆของมหาวิทยาลัย 7. ข้อมูลวีดีโอต่างๆของมหาวิทยาลัย 8. ข้อมูลสถานทีÉต่างๆภายในมหาวิทยาลัย ในแต่ละหมวดของข้อมูลได้มีการให้บริการในทัÊงสอง แบบดังทÉีได้กล่าวไปแล้ว โดยรายละเอียดเฉพาะ การให้ บริการดึงข้อมูลในหมวดหมู่ทÉีสำคัญทÉีรายละเอียดดังนีÊ 1. ข้อมูลเกีÉยวกับมหาวิทยาลัย Abouts KKU Services เป็นฟังก์ชันทีÉให้บริการ ข้อมูลเกีÉยวกับมหาวิทยาลัยขอนแก่นในด้านต่างๆเช่น ข้อมูลประวัติมหาวิทยาลัย, รายละเอียดการรับเข้าศึกษา, รายละเอียดเกีÉยวกับการศึกษา, การทำวิจัย และการ ดำรงชีวิตใน มหาวิทยาลัยซึÉงจะให้บริการในรูปแบ บ ข้อ มูล แ บ บ เ จ ซัน ( JSON)ซึÉง มีฟัง ก์ชัน ห ลัก ดัง นีÊ AboutKKU เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูลทัÉวไป ของมหาวิทยาลัย About Admission เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล ด้านการรับเข้าศึกษาของมหาวิทยาลัย About Education เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล ด้านการศึกษาของมหาวิทยาลัย About Research เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล ด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัย About Life KKU เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล เกÉียวกับการดำรงชีวิตภายในมหาวิทยาลัย ตัวอย่างข้อมูลทÉีให้บริการข้อมูลทัวÉไปของมหาวิทยาลัยได้ แสดงไว้ในรูปทÉี 9
  • 7. รูปทีÉ 9 ตัวอย่างเว็บเซอร์วิส ฟังก์ชัน About KKU จากตัวอย่างข้อมูลจะประกอบด้วยหัวข้อต่างๆของ ข้อมูลทัÉวไปเช่น “ประวัติความเป็นมา” ซึÉงจะมีรายละเอียด ทัÊงภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ข้อมูลกิจกรรมต่างๆของมหาวิทยาลัย ActivityServices เป็นการให้บริการเกีÉยวกับข้อมูล กิจกรรมในด้านต่างๆภาย ในมหาวิทยาลัยขอนแก่นอาทิ เช่น กิจกรรมทางด้านการศึกษา กิจกรรมทางด้านการวิจัย กิจกรรมของนักศึกษา กิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม และ กิจกรรมทัÉวไปภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยจะ ให้บริการข้อมูลในรูปแบบข้อมูลของเจซัน (JSON)ซึÉงมี ฟังก์ชันหลักดังนีÊ topActivity เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล เกÉียวกับกิจกรรมทÉีจะมีขึÊนรวมทัÊงกิจกรรมทÉีผ่านไปแล้ว ภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น onshowActivity เป็นฟังก์ชันสำหรับให้บริการข้อมูล เกีÉย วกับ กิจ กร ร มทีÉกิจ กรร มเ ด่นทีÉจะ มีขึÊน ภา ยใ น มหาวิทยาลัยขอนแก่น รูปทีÉ 10 ตัวอย่างข้อมูลทีÉได้จากจาก topActivity 2.4 โมบายแอปพลิเคชัน ในส่วนของโมบายแอปพลิเคชันได้ทำการออกแบบ และพัฒนาให้สามารถใช้แอปพลิเคชันได้กับสมาร์ทโฟ นทุกแฟลตฟอร์ม เช่น Android iOS และ Windows Phone และใช้ API ทีÉได้ออกแบบพัฒนาและพัฒนาขึÊน เป็นตัวกลางในการดึงและแลกเปลีÉยนข้อมูล ตัวอย่างการ ออกแบบโมบายแอปพลิเคชันมีดังนีÊ รูปทีÉ 11 ตัวอย่างหน้าจอโมบายแอปพลิเคชัน 3. ผลการทดสอบ 3.1 ข้อมูลทีÉใช้ในการทดสอบ ข้อมูลทีÉใช้สำหรับการทดสอบจะเป็นข้อมูลจริงของ ระบบเดิมทีมีอยใู่นรูปแบบทÉีเป็นข้อมูล ข้อความและรูปภาพ เพืÉอเป็นการหาข้อผิดพลาดของระบบจึงทดสอบด้วยข้อมูล จริง และนำไปปรับปรุงพัฒนาแก้ไขต่อไปโดยทÉีระบบได้เริÉม ใช้จริงประมาณปลายเดือนกรกฎาคม 2555โดยมีจำนวนข่าว ทัÊงหมดทÉีโพสต์ทÉีระบบจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 1250 ข่าว ดังแสดงในรูปทÉี 12 รูปทีÉ 12 สถิติของการโพสต์ข่าวต่างๆ 3.2 กลุ่มทดสอบระบบ กลุ่มทดสอบระบบจะมีอยู่ 2 กลุ่มคือกลุ่มผู้พัฒนาระบบ และกลุ่มผู้ใช้งานระบบ ในการทดสอบระบบนÊันทางกลุ่ม ผู้พัฒนาจะเป็นผู้ทดสอบก่อนเมืÉอระบบสมบูรณ์แล้วจึงให้
  • 8. กลุ่มผู้ใช้งานระบบจริงทดสอบอีกครัÊง เพÉือหาแนวทาง ปรับปรุงแก้ไขร่วมกันและให้แสดงความคิดเห็นเกีÉยวกับ ระ บ บ เพืÉอห าแนวท า งป รับ ป รุงแล ะแก้ไข ร่วมกัน 3.3 หน่วยงานทีÉใช้ระบบประชาสัมพันธ์ ปัจจุบันหน่วยงานทÉีเข้าใช้งานระบบประชาสัมพันธ์จะ ประกอบไปด้วยหน่วยงานและคณะของมหาวิทยาลัยเกือบ ทัÊงหมดของมหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยมียอดผู้ใช้งานทัÊงหมด 80 บัญชี โดยแบ่งออกเป็น ผู้ดูแลระบบ จำนวน 6 คน นักประชาสัมพันธ์ 74 คน โดยเฉลีÉยสถิติการใช้งานในช่วง เดือน ธันวาคม 2555 มีข่าวทัÊงหมดเฉลÉีย 7 ข่าว/วัน มีสมาชิกเข้าใช้งานทัÊงหมดเฉลÉีย 4 คน/วัน มีบุคคลทัวÉไปเข้าชมเว็บไซต์เฉลÉีย 1050 คน/วัน 3.4 ผลการประเมิน ผู้พัฒนาระบบประชาสัมพันธ์แบบบูรณาการได้สร้าง แบบฟอร์มเพÉือประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบจัดการ ข้อมูลประชาสัมพันธ์โดยฟอร์มอยทู่Éี https://docs.google.com/a/kku.ac.th/spreadsheet/vi ewform?formkey=dDJVelRmM0ZvS3VVNHVX MGc2bU93WHc6MQ ดังแสดงในรูปทีÉ 13 รูปทีÉ 12 แบบฟอร์มประเมินความพึงพอใจของระบบ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ ประชาสัมพันธ์พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจในภาพรวมต่อ ประเด็นของการใช้งานในส่วนต่างๆ ดังนีÊ 3.4.1 ระบบโดยรวม ในการประเมินผลระบบโดยรวมประกอบไปด้วย คำถามต่างๆ ต่อไปนีÊ 1) ความง่ายต่อการใช้งานของระบบ ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 2) ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลแต่ละเมนู ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 3) ความเหมาะสมในการใช้สีของตัวอักษรและรูปภาพ ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 4) ความเหมาะสมในการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ ผลการประเมินได้ในระดับ 3.56/5 3.4.2 ระบบข่าว ในการประเมินผลระบบข่าวประกอบไปด้วยคำถาม ต่างๆ ต่อไปนีÊ 1) ความพึงพอใจในการใช้งานระบบข่าว ผลการประเมินได้ในระดับ 4/5 2) ความพึงพอใจในการใช้งานระบบโพสต์ข่าวไปเฟซบุ๊ก ผลการประเมินได้ในระดับ 3.89/5 3) ความพึงพอใจในการค้นหาข้อมูลจากคำค้นของระบบ ข่าวผลการประเมินได้ในระดับ 3.79/5 3.4.3 ระบบกิจกรรม ในการประเมินผลระบบกิจกรรมประกอบไปด้วย คำถามต่างๆ ต่อไปนีÊ 1) ความพึงพอใจในการใช้งานระบบกิจกรรม ผลการประเมินได้ในระดับ 4.00/5 2) ความพึงพอใจในการค้นหาข้อมูลจากคำค้น ของกิจกรรม ผลการประเมินได้ในระดับ 3.89/5 4. บทสรุปและข้อเสนอแนะ จา ก กา ร พัฒ นา ร ะบ บ ป ร ะชา สัมพัน ธ์ผ่า นสืÉอ อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการพบว่าผู้ใช้งานมีความ สะดวกสบายมากขึÊน ในเรืÉองของการประชาสัมพันธ์ข่าว ไปยังสืÉอต่างๆบนโซเชียลมีเดีย มีผู้เข้าชมและเปิดอ่าน ข่าวสารมากขึÊน ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ระบบอยู่ในระดับดี
  • 9. อย่างไรก็ตามระบบทÉีพัฒนาขึÊนยังมีส่วนทÉีจะต้องปรับปรุง และพัฒนาต่อเพืÉอให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานมาก ยิÉงขึÊน โดยข้อเสนอแนะการพัฒนาระบบมีดังนีÊ 1) ในส่วนของระบบโซเชียลมีเดียนอกจากจะสามารถ โพสต์ไปยังเฟซบุ๊กได้ ควรพัฒนาให้สามารถโพสต์ไปยัง โซเซียลมีเดียอืÉนๆได้เช่น ทวิตเตอร์ กูเกิลพลัส เป็นต้น 2) ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (UI) ในระบบจัดการเว็บไซต์ควร ปรับปรุงให้อยู่ในรูปแบบเดียวกัน เช่นระบบข่าวกับระบบ กิจกรรม ส่วนติดต่อผู้ใช้งานยังไม่เป็นรูปแบบเดียวกับซึÉง อาจจะทำให้ผู้ใช้งานสับสนได้ 5. เอกสารอ้างอิง [1] “โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ.” [online], Available: http://th.wikipedia.org/wiki/โปรแกรม ประยุกต์บนเว็บ[Accessed 04 December 2012 ] [2] “เว็บเซอร์วิส เว็บเซอร์วิสคืออะไร ความหมายเว็บ เซอร์วิส” [online], Available:http://www.gotoknow.org/blogs/post s/471679 [ Accessed 04 December 2012 ] [3] “Social Media มันคืออะไร” [online], Available: http://www.marketingoops.com/digital/social-media/ what-is-social-media/ [ Accessed 04 December 2012 ] [4] “Login with facebook and twiiter” [online], Availablehttp://www.9lessons.info/2011/02/log in-with-facebook-and-twitter.html [5] “facebook api” [online], Availablehttp://www.developer.facebook.com